สิ่งที่ควรรู้ของ กระดาษทิชชูสีชมพู

วันนี้เราจะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้สิ่งที่เราควรรู้เกี่ยวกับกระดาษทิชชูสีชมพู กับบทความ สิ่งที่ควรรู้ของ กระดาษทิชชูสีชมพู ไปดูกันว่าที่มาของกระดาษทิชชูสีชมพู นั้นทำมาจากอะไร

วันนี้เราคงรู้แล้วว่าผู้คนทั่วโลกล้วน มอง ‘กระดาษชำระ’ หรือ ‘กระดาษทิชชู’ เป็นของสามัญประจำบ้าน ที่มีความสำคัญไม่แพ้แอลกอฮอล์ล้างมือและหน้ากากอนามัย ถึงกระนั้น กระดาษชนิดหนึ่งที่ชวนให้ศึกษา ในวันที่เราทุกคนยังไม่รู้ว่าการออ กไปร้านจิ้มจุ่ม ช าบู กับเพื่อนหล า ยๆ คนรร้อมหน้ากันจะมาถึงวันไหน ได้แก่กระดาษที่เรามักเ ห็ น ต ามสวนอาหารต่างจังหวัด และนิยมเอามาเ ช็ ด จานเมลามีนก่อนรับประทานอาหาร ด้วยความกังวลว่าจานนั้นจะไม่สะอาด หรือที่เราเรียกกันว่า ‘ทิชชูชมพู’

‘กระดาษทิชชูสีชมพู’ หล า ยคนยังไม่รู้ว่าทำมาจากอะไร

หากใครได้ชม ‘เดี่ยว 8’ ของ ‘โน้ส อุดม แต้พานิช’ ผู้บุกเบิกและเป็นเจ้าพ่อตลก ส แ ตน ด์ อั พ คอมเมดี้ ในเมืองไทย นั่งๆ ดูไปสังเกตได้ชัดว่ามีอยู่ ‘มุข’ หนึ่งไม่ค่อยตลก แต่ออ กจะไปทางให้ความรู้เชิงวิทย าศาสตร์ด้วยซ้ำ จนทำให้กลุ่มผู้ฟังนั่งเงียบ – อึ้งกันไปทั้งโรง

นั่นคือมุขที่คุณโน้สให้ข้อมูลบอ กว่า อันกระดาษ ทิ ช ชู ‘สีชมพู’ ที่เราเห็นวางกันต ามร้านข้าวแกง ร้ า นก๋วยเตี๋ยว ฯลฯ นั้น แท้จริงแล้วมัน มีที่มาจาก ‘กระดาษ เอ 4’ เปื้อนหมึก ซึ่งเอามาผ่ า นกระบวนการรีไซเคิลใหม่

หล า ยคนหารู้ไม่ว่าทิชชูชมพูในกล่องไม้จิ้มฟันที่แสนคุ้นต าคนไทยนั้นผลิตมาจากสิ่งที่ครั้งหนึ่งเคยไม่สะอาดมาก่อนเช่นกัน ทิชชูหรือ กระดาษชำระแทบทั้งหมด ผลิตจากส่วนผสมของเยื่อไม้และกระดาษรีไซเคิลในสัดส่วนที่มากน้อยต่างกัน เจ้ากระดาษทิชชูชมพูของเราด้วยเช่นกัน ซึ่งส่วน มากมีอ ดีตช าติเป็นเอกสาร A4 ที่เปื้อนหมึกแล้ว และถูกนำมาผ่านกระบวนการ ‘ดีอิงก์’ ( De – ink ) หรือ การต้มในอุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส เพื่อขจัดหมึกและคาร์บอนออ กไป หลังจากนั้นจึงจุติเป็นทิชชูคู่สวนอาหารที่เราคนไทยทุกคนคุ้นต า

ถึงตอนนี้ เราอาจจะพอเดาได้ว่า การที่ทิชชูสีชมพูต้องมีสีสันก็เพื่อปกปิดความไม่ขาวเนียนของมัน เนื่องจากส่วนผสมของกระดาษ A4 เปื้อนหมึกถูกทิ้งมาจากทุกหนทุกแห่ง และอาจเป็นได้ตั้งแต่จดหมายรัก จดหมายเขียนถึงมหาเศรษฐี จนไปถึงใบเสร็จสั่งซื้ อเรือ ดำน้ำ พี่น้อง ยังคิดว่า ระหว่างช้อน ซ้ อ ม กับกระดาษทิชชูสีชมพู อะไรสะอาดกว่ากัน? แล้วหลังจากที่รู้แบบนี้ จะใช้ต่ออีกมั้ย ? ทีนี้คงรู้แล้วนะว่า ระหว่างช้อนส้ อ ม ที่วางอยู่เฉยๆ กับการที่เราเอากระดาษทิชชู ที่ว่ามาเช็ดช้อนส้อมนั้น อะไรสะอาดกว่ากัน!?

ประเด็นนี้ คุณโน้สพูดถูก แต่ถูกครึ่งหนึ่ง ข้อแตกต่างอยู่ตรงที่ยิ่งทิชชูคุณภารดีเท่าไหร่ สัดส่วนการผสมเอ 4 รีไซเคิลลงไปก็จะน้อยลงเท่านั้น เพราะจะมีปริมาณเยื่อไม้มากขึ้น จึงทำให้เนื้อทิชชูคุณภารดีมีความนุ่มสูง ไม่สาก แต่ร า ค าแพง อย่ างไรก็ต าม ก่อนนำเอ 4 รีไซเคิลมาใช้ มันจะถูกทิ้งลงไป ในหม้อต้มเพื่อ ดึง หรือ ดูดเอา ‘หมึก’ ออ กไป เรียกว่าขั้นตอน ‘ดี – อิงก์’

ทั้งยังต้องผ่านความร้อนถึง 200 องศาเซลเซียส ฉะนั้นไม่ว่าเชื้อโ ร ค สิ่ง ส ก ป ร ก ใดๆ ก็ไม่มีทางเล็ดรอ ดผ่านกระบวนการนี้ไปได้ ส่วนจุดประสงค์การใส่ ‘สี’ ก็เพื่อ ก ล บ เนื้อของทิช ชูที่ดูไม่ค่อยนวล และทำให้ดูน่าใช้ยิ่งขึ้น เรื่องราวการ เ ดิ น ทางของ ทิ ช ชู สีชมพูในเดี่ยว 8 ก็เอวังด้วยประการฉะนี้ล่ะ นำมาเล่าให้ฟังอีกที จะได้ ท ร า บ ที่ไปที่มากันชัดๆ

ที่มา Samunpaisecrete