2 สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อพ่อแม่ชอบเปรียบเทียบลูกกับคนอื่น

วันนี้เราจะพาพ่อแม่ทุกๆ คนไปเรียนรู้ข้อเสียของการเลี้ยงลูกแล้วนำลูกไปเปรียบเทียบกับลุกคนอื่่นๆ กับบทความ 2 สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อพ่อแม่ชอบเปรียบเทียบลูกกับคนอื่น ไปดูกันว่ามีข้อเสียอะไรบ้างที่จะเกิดขึ้นกับลูกของเพื่อนๆ ได้บ้าง หากรู้แล้วควรเลี้ยงลูกให้เขามีความสุขที่สุดเพื่ออนาคตที่สดใสของลูกๆ

ทำไมพ่อแม่ชอบเปรียบเทียบ? = การที่พ่อแม่ติดเปรียบเทียบอาจเป็นจากประสบการณ์ในอ ดีต เช่น ถูกเลี้ยงดูมาแบบที่โดนเปรียบเทียบในตอนเด็ก หรือต้องการเติมเต็มความฝันของตนเองที่ไม่สำเร็จในอ ดีต รวมถึงอาจเป็นวิธีทดแทนเนื่องจากพ่อแม่ไม่เห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นสิ่งที่กลับไปแก้ไขไม่ได้ และไม่ควรทำให้โลกของลูกเต็มไปด้วยความรู้สึกที่ว่าตัวเอง ด้ อ ยค่ า

ผลเสียของการเปรียบเทียบ

1 ข า ดความสุข เมื่อเด็กโดนเปรียบเทียบ

พอโตขึ้นจะหาความสุขได้ย ากกว่าเด็กที่ไม่ต้องเทียบกับใคร ลักษณะที่แสดงออ กมาชัดเจนคือ บุคลิกภาพแบบแข่งขันสูง เช่น สอบต้องได้ลำดับที่ต้นๆ สถาบันต้องชั้นนำ จบต้องเกียรตินิยม ทำงานเงินเดือนต้องเยอะ ตำแหน่งสูง โทรศัพท์รุ่นใหม่ รถแพง บ้ านสวย เมื่อมีครอบครัวลูกต้องดีต้องเด่นเหมือนตนเอง จะมีความสุขต่อเมื่อคนรับรองว่า ดี ( กว่า ) เยี่ยม ( กว่า )

2 เห็นคุณค่าในตัวเองน้อยลง

เพราะเมื่อเปรียบเทียบกับคนอื่นแล้วทำได้ไม่ดีเท่าจะส่ งผลต่อ การเห็นคุณค่าในตนเอง ( Self-esteem ) เมื่อเห็นคุณค่า ในตัวเองน้อยลงเรื่อยๆ จะมีปัญหาต่างๆ ต ามมา เช่น พฤติก ร ร มก้าวร้าว ข า ดความรับผิดชอบ ข า ดการควบคุมตนเอง

ข า ดการรอคอย โ ร คซึ มเ ศ ร้ า โ ร ควิตกกังวล ต่อต้านสังคม อารมณ์รุ นแ ร ง มีเ พ ศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร พึ่งพาย าเ ส พติดฯลฯ ลูกจะรับมืออย่ างไรดี? = หากพ่อแม่เคยชินกับการเปรียบเทียบ ลูกต้องยอมรับว่า ความเคยชินเปลี่ยนกันย าก พ่อแม่คงมีประสบการณ์ในอ ดีตบางอย่ างที่ทำให้มีลักษณะนี้ เพราะฉะนั้นสิ่งที่ทำได้คือ หากท่านคิดแบบนั้นแล้วสบายใจ

ในฐานะลูกควรยอมรับว่าความสบายใจของพ่อแม่คือสิ่งสำคัญ แต่ตัวลูกเองต้องหัดชื่นชมตัวเอง ตั้งใจทำหน้าที่ของตัวเอง แล้วปล่อยวางกับผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นเมื่อได้ทำเต็มที่แล้ว

พ่อแม่ควรยอมรับความจริง = ไม่มีพ่อแม่คนไหนยอมรับว่าชอบเปรียบเทียบลูกกับคนอื่น แต่ถ้าหากได้รู้ผลเสีย จากการเปรียบเทียบบ่อยๆ ควรกลับมาสำรวจตนเอง ควรชื่นชมลูกที่ได้พย าย ามแล้ว ไม่ควรพูดถึงลำดับ ไม่ถามถึงลูกคนอื่น ว่าได้ที่เท่าไร เพื่อที่ลูกจะได้เห็นคุณค่าในตนเอง ไม่ต้องไปเปรียบเทียบกับใคร

ที่มา thaihealth.or.th, fahhsai