7 พฤติก ร ร มที่พ่อแม่ควรเลิกสปอยล์ลูก มากจนเกินไป

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดการเลี้ยงลูกกับบทความ 7 พฤติก ร ร มที่พ่อแม่ควรเลิกสปอยล์ลูก มากจนเกินไป ไปดูกันว่ามีพฤติก ร ร มแบบไหนบ้างที่พ่อแม่ควรหยุดทำ

1 ให้ลูกเป็นทุกลมห า ยใจของพ่อแม่

เมื่อมีลูก พ่อแม่หล า ยคนก็ได้อุทิศชีวิตทั้งชีวิตให้กับลูก เป็นทุกอย่ อง ทำทุกอย่ อง คิดทุกอย่ อง ให้ลูกจนลูกไม่มีชีวิตเป็นของตัวเอง พ่อแม่กลุ่มนี้ จะไม่อยู่ห่างจากลูก ยอมทิ้งทุกสิ่งอย่ องเพื่อทำต ามสิ่งที่ลูกต้องการ และทำให้ลูกเป็นศูนย์กลางจักรวาล

2 ชดเชยความผิดของพ่อแม่ด้วยสิ่งของ

เช่น พ่อแม่ที่ต้องทำงาน มักจะรู้สึกผิดที่ไม่ได้ใช้เวลาอยู่กับลูกได้มากพอ จึงซื้ อของเล่นให้ลูกเยอะ ๆ เพื่อชดเชยความผิดนี้ การทำแบบนี้ สอนให้เด็กรู้ว่า เมื่อคนอื่นทำอะไรผิด เขาจะได้รับสิ่งของเป็นการตอบแทน สำหรับพ่อแม่ที่ต้อง ทำงานนอ กบ้าน ไม่ต้องกังวลใจไปว่าการมีเวลาอยู่กับลูกเพียงเล็กน้อย จะทำให้ ลูกมีปัญหา เพียงแค่คุณพ่อคุณแม่ใช้เวลาคุณภาพอยู่กับลูก โดยการหากิจก ร ร ม ทำร่วมกัน และช่วงเวลาที่อยู่กับลูก ให้คุณพ่อคุณแม่โฟกัสไปที่ลูกเพียง อย่ องเดียว ไม่หยิบมือถือ ไม่คิดเรื่องงานหรือเรื่องอื่น ๆ แม้จะเป็นการใช้เวลา ร่วมกันเพียงน้อยนิด แต่ก็ช่วยเติมเต็มให้ลูกได้มากกว่าการอยู่กับลูกทั้งวัน แต่พ่อแม่ไม่สนใจลูกอีกค่ะ

3 ไม่เคยปล่อยให้ลูกรอ

เมื่อลูกอย ากได้อะไร ชี้อะไร สิ่งของเหล่านั้นจะมาอยู่ตรงหน้าลูกทันที พฤติก ร ร ม ที่พ่อแม่ทำนี้จะทำให้ลูกไม่รู้จักการรอคอย การอ ดทน การอ ดออม เพื่อให้ได้สิ่ง ที่ต้องการมาเป็นของตน ลูกจะไม่เห็นสิ่งอื่น ๆ มีค่า เพราะไม่เคยต้องอ ดทนรอ หรือคอยเลย บางครั้งการปล่อยให้ลูกได้หิว ร้อน เหนื่อยบ้าง จะทำให้ลูกรู้ว่า อาหารที่อยู่ตรงหน้าอร่อยเพียงใดก็เป็นได้ เข้าใจดีว่า เด็กก็คือเด็ก ในบางครั้งลูกอาจจะงอแง อย ากมี อย ากได้ ต ามวัย ของเขา และพ่อแม่ทุกคนก็ไม่อย ากเห็นลูกเสียใจ แต่เราจะต ามใจลูกได้แค่ไหน โดยที่ไม่เป็นการสปอยล์ลูกจนเสียนิสัย ไปดูเทคนิคกันค่ะ

4 รับฟังความต้องการของลูก แต่แก้ปัญหาต ามแนวทางของพ่อแม่

ให้ลองรับฟังลูกว่าลูกต้องการอะไร รู้สึกเสียใจเพราะอะไร ยิ่งเราฟังลูกมาก เท่าไร ลูกก็จะยิ่งไว้เนื้อเชื่อใจเราเท่านั้น และเมื่อรับฟังแล้วสิ่งสำคัญหลังจาก นั้นคือแนวทางการช่วยแก้ปัญหาให้ลูก พ่อแม่ควรยึดหลักและกฎเกณฑ์ใน บ้านเป็นหลัก ไม่ควรแหวกกฎเกณฑ์เพื่อต ามใจลูก เช่น เมื่อลูกอย ากได้ โทรศัพท์มือถือเพราะเพื่อน มีกันหมดแล้ว ให้คุณพ่อคุณแม่รับฟังว่าลูกรู้สึก อย่ องไร ต้องการมากแค่ไหน หลังจากนั้นให้ย้ำถึงกฎเกณฑ์ว่าเราได้ตกลง กันแล้วว่าลูกจะมีโทรศัพท์มือถือได้เมื่อลูกอยู่ในวัยที่เหมาะสมเท่านั้น เป็นต้น

5 อย่ อ กลัวที่จะให้ลูกผิดพลาด

ผิดเป็นครู ถ้าลูกไม่รู้จักผิดพลาด ผิดหวังเลย จะมีแรงจูงใจอะไรให้พย าย าม ทำสิ่งเหล่านั้นให้สำเร็จได้ และลูกจะรู้จักระมัดระวังไม่ให้เกิดความผิดพลาด หรือไม่ถ้าไม่เคยทำผิดเลย ตัวอย่ องเช่น เวลาเล่นเกมกับลูก ไม่จำเป็นต้อง ยอมแพ้และให้ลูกชนะทุกครั้ง การให้ลูกรู้จักแพ้บ้าง เพื่อให้ลูกได้พย าย าม ทำให้ตัวเองชนะ ก็เหมือนกับการที่พ่อแม่ต่อขั้นบันไดให้ลูกได้ปีนผ่านอุปสรรค ต่าง ๆ จนทำสิ่งเหล่านั้นได้สำเร็จนั่นเอง และเมื่อลูกทำสำเร็จได้ด้วยตัวเอง ลูกจะมีความภาคภูมิใจในตัวเอง ( Self-Esteem ) ซึ่งความภาคภูมิใจนี้ จะเป็นผลดีกับชีวิตของลูกในอนาคต

6 อย่ อสรรเสริญเยินยอลูกจน มากเกินไป

การชื่นชมลูกเพื่อเป็นกำลังใจให้ลูกเป็นสิ่งสำคัญ แต่การชมจน มากเกิน ไปจนถึงขั้นสรรเสริญเยินยอ ก็อาจจะเป็นการทำร้ า ยลูกได้ เพราะเป็นการ ส่ งเสริมพฤติก ร ร มที่หลงตัวเองจนเกินพอ ดี หรือบางครั้งอาจจะเป็นการ กดดันลูกได้ เพราะลูกจะรู้สึกว่าพ่อแม่คาดหวังให้ลูกเป็นแบบนั้น การชมลูก ที่ถูกต้อง ควรเน้นที่การชมถึงความพย าย ามของลูก ว่าการที่ลูกทำสิ่งนั้น ๆ สำเร็จได้ เป็นเพราะลูกพย าย าม เช่น เมื่อลูกสอบได้คะแนนดี แทนที่จะ ชมว่าลูกหัวดี เรียนเก่ง ให้ลองปรับคำพูดเป็น “เป็นเพราะลูกพย าย าม ตั้งใจเรียน ตั้งใจทบทวนอ่านหนังสือ เลยทำให้ลูกได้คะแนนดี” เป็นต้น

7 รั ก ษ า กฎเกณฑ์ภายในบ้าน

อย่ อปล่อยให้ลูกแหวกกฎเกณฑ์ภายในบ้านซ้ำ ๆ เพราะจะทำให้ลูกลด ความเคารพในสิทธิของคนอื่น ๆ การตั้งกฎเกณฑ์ภายในบ้านของทุกบ้าน เป็นเพราะพ่อแม่ต้องการจำลองสถานการณ์ให้ลูกได้รู้จักกฎของการอยู่ ร่วมกันกับคนอื่น ๆ ดังนั้นอย่ อปล่อยให้ลูกทำต ามใจตนเอง เอาตนเองเป็น ศูนย์กลาง ไม่ทำต ามกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เมื่อต้องอยู่ร่วมกับคนในครอบครัว เพราะหากลูกทำจนชิน เมื่อลูกต้องออ กไปอยู่ร่วมกับสังคม ลูกจะไม่ ได้รับการยอมรับจากคนในสังคมนั่นเองและเมื่อลูกมีอาการร้องไห้งอแง โวยวาย ให้ตั้งสติก่อนปรับพฤติก ร ร มลูกอย่ อใช้อารมณ์ และเน้นใช้ความ สม่ำเสมอ นั่นคือ ไม่ให้ความสนใจกับพฤติก ร ร มที่ลูกแสดงออ ก หากอยู่ใน ที่สาธารณะให้พาไปในที่เงียบสงบ ใช้การอธิบายที่นิ่งและมั่นคง ไม่แสดงอารมณ์ เมื่อพ่อแม่แสดงออ กถึงวุฒิภาวะที่มั่นคง ลูกจะค่อย ๆ อาการงอแง และโวยวายจะค่อย ๆ ลดลงไป แต่ความรู้สึกถึงความรักจากพ่อแม่จะยังคงอยู่

ที่มา songtorkwamrak