วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดเตือนใจระหว่างคนพูดตรงกับคนไร้มารย าท คนสองกลุ่มนี้เขาจะมีลักษระการพูดที่แตกต่างกันอย่ างไร กับบทความ ข้อคิดการใช้ชีวิตของคนพูดตรงกับคนไร้มารย าท ไปดูกันว่าคนที่พูดตรงกับคนที่ไร้มารย าทมีชีวิตที่แตกต่างกันอย่ างไร
‘ฉันเป็นคนตรงๆ’ ประโยคเด็ดที่หล า ยคน อาจจะเคยได้ยิน ( หรืออาจจะเคยพูดเองด้วย) มักเป็นประโยคที่ต้องการสื่อความหมายไปในทางที่ว่า ตนเองเป็นคนจริงใจ, โ ก ห ก ไม่เป็น, คิดอย่ างไรก็พูดอย่ างนั้น ยิ่งพ่วงมากับบุคลิกที่มั่นใจ แรงๆ คนที่พูดก็จะยิ่งรู้สึกว่าตนเองกำลังทำ สิ่งที่ถูกต้องอยู่ แต่รู้หรือไม่ ว่าในบางครั้ง คำพูดที่ตรงเกินไป มันอาจทำร้ าย สภ าพ จิตใจคนอื่นได้โดยที่เราไม่รู้ตัว
พระเมธีวชิโรดม – ว.วชิรเมธี เคยกล่าวไว้ว่า การพูดตรงๆ มีทั้งข้อ ดีและข้อร้ าย ข้อ ดีคือรู้เรื่องง่าย ข้อร้ ายคือคนไม่ชอบหน้า ซึ่งเป็นความจริงอย่ างยิ่ง บางคนอาจจะเป็นคนเถรตรงเสียจนคนอื่นกลัว บางคนอาจเผลอพูดไม่คิดจนทำให้หล า ยคนไม่พอใจ
หรือบางคนก็จริงใจเสียจนประดิษฐ์คำพูดไม่เป็นในชีวิตจริงสิ่งที่ทำให้คนเจ็ บป วด ได้มากไม่แพ้ใครคือ ‘คำพูด’ ยิ่งเป็นคนที่รู้จักมักจี่สนิทชิดเชื้ อ กัน ยิ่งต้องรักษ าน้ำใจเพราะคนเราอ่อนไหวต่อคำพูดไม่เท่ากัน จึงต้องระมัดระวังในการสื่อส ารมากขึ้นไปอีก วันนี้เรามี 5 ข้อแนะนำให้กับ ‘คนตรงๆ’ ลองปรับใช้ในการสนทนา เพื่อให้ดูเบาลงแต่ยังคง ประสิทธิภาพในการสื่อส ารอยู่ได้ค่ะ
1 ต้องมีศิลปะในการพูดสักนิด
ต้องระลึกไว้เสมอ ว่าการพูดตรงๆ ไม่ใช่การใช้คำหย าบคายหรือแข็งกระด้าง แต่เป็นการรู้จักพูดให้ตรงประเด็น รู้จักเรียบเรียงประโยค หรือคำพูดให้กระชับ เข้าใจง่าย ไม่ใช่อ้อมค้อมเสียจนน้ำท่วมทุ่งเพียงเพื่อต้องการจะรักษ าน้ำใจคนฟัง การเป็นคนตรงๆ แบบที่คนอื่นจะไม่เกลีย ด ต้องรู้จักใช้วาทศิลป์ ปรับคำให้ละมุนละม่อมแต่ยังคงใจความที่ต้องการ พูดออ กไปได้อย่ างครบถ้วน
ตัวอย่ าง สถานการณ์
A= งานนี้คุณทำคนเดียวไม่ไหวหรอ ก อย่ าพย าย ามเลย
B= คุณลองทำงานนี้ดูก่อนแล้วถ้ามีอะไรให้ช่วย บอ กได้เลยนะ
จะเห็นได้ว่าทั้ง 2 ประโยค มีความหมาย ไปในทางเดียวกัน แค่เพียงเลือ กใช้ คำที่นุ่มนวลลงมาหน่อย ก็จะทำให้บรรย ากาศการสนทนาดีขึ้นเป็นกอง
2 ฟังและคิดให้มากกว่าพูด
ว่ากันว่าการพูดตรงเกินไปจนทำร้ ายจิตใจ ผู้อื่นนั้น ส่วนหนึ่งเกิดจากที่คนพูดโฟกัสกับข้อความที่จะสื่อส ารมากเกินไปจนละเลยบริบทอื่น โดยเฉพาะความรู้สึกของคนฟัง จากคนพูดตรงอาจกล า ยเป็นคนพูดจาขวานผ่ า ซ ากไปได้ อย่ าลืมว่านี่คือ คน ไม่ใช่หุ่นยนต์ เวลาจะพูดจะจากันต้องคำนึง
ถึงสิ่งที่แวดล้อม เราอยู่ด้วยโดยเฉพาะการรับ ‘ฟัง’ คือหัวใจสำคัญ เพราะบ่อยครั้งคนที่พูดตรง มักจะใช้เวลาพูดเรื่องที่ตัวเองคิดมากกว่าฟังสิ่งที่คนอื่นกำลังพูดอยู่ นั่นอาจทำให้เกิดปัญหาได้ เมื่อฟังแล้วก็ต้องรู้จัก ‘คิด’ ด้วย คิดในที่นี้หมายถึงคิดต าม ไม่ใช่คิดแทนเขา แล้วจึงค่อยร้อยเรียงสิ่งที่ตนเองจะสื่อส ารออ กไปคิดก่อนพูด แต่ไม่ต้องพูดทุกอย่ างที่คิด
3 ใช้เหตุผล ไม่ใส่อารมณ์
เมื่อไหร่ที่ใช้อารมณ์นำทาง แล้วสถานการณ์อาจจะแ ย่ลงได้ทุกเมื่อ การสื่อส ารที่ดีควรอยู่บนพื้นฐานของหลักการ และเหตุผล ไม่ว่าจะเป็นเรื่องงาน หรือเรื่องส่วนตัวก็ต าม ยิ่งมีใครคนใดคนหนึ่งที่พูดตรงเสีย จนลืมว่าต้องถนอมน้ำใจกัน ยิ่งทำให้อารมณ์เสียง่ายขึ้นไปอีก อาจกล า ยเป็นไฟลามทุ่งได้
4 รู้จักกาลเทศะ และใช้คำพูดให้เหมาะสมกับผู้ฟัง
อย่ างที่บอ กว่าการพูดตรง ประเด็นเลย ไม่ใช่เรื่องที่ผิด แต่ต้องรู้จักใช้คำให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และกับสถานะของคู่สนทนา บางคนอาจเป็นคนอ่อนไหวมาก หากพูดอะไรไปจี้ใจดำ กับอาจบานปล า ยกล า ยเป็นความบาดหมางกัน เพราะฉะนั้นต้องทำความรู้จักผู้ฟังก่อนสักนิด โดยสังเกตจากคำพูด ของเขาก่อนก็ได้ ว่าเป็นคนประมาณไหน จริงจังหรือล้อเล่นได้มากน้อยแค่ไหน แล้วจึงนำมาปรับให้เข้ากับการสนทนาอีกครั้ง
5 เอาใจเขามาใส่ใจเรา
หมั่นสังเกตตัวเราเอง และบุคคลอื่นว่าในระหว่าง การสนทนานั้น เรารู้สึกอย่ างที่ได้ยินประโยคแบบนั้น ไม่พอใจหรือเปล่า รุ นแร ง เกินไปไหม หรือมีวิธีอื่นที่สามารถแสดงออ กไปแล้วดูดีกว่าคำพูดนั้นหรือไม่ เพราะการที่ใช้ตนเองเป็นกระจกสะท้อนแบบนี้ จะยิ่งทำให้เราเข้าใจผู้อื่น มากยิ่งขึ้น รวมถึงสังเกตท่าทีของผู้อื่นไปด้วยในเวลาเดียวกัน แล้วในวงสนทนาครั้งต่อไป เราจะรู้จักการประนีประนอมและระวังคำพูดมากกว่าเดิม
การเป็นคนพูดตรงที่ถูกต้องคือต้องไม่ก้ าวร้ าว ไม่หย าบ ค าย เพียงแต่พูดตรงประเด็น เ นื้ อๆ ไม่น้ำ รักษ าน้ำใจคนฟังอยู่เสมอ เหมือนที่เราอย ากได้ยินอะไรจากคนอื่น เราก็ต้องพูดเช่นนั้นกับคนอื่น ด้วยเช่นกัน อย่ างคำสอนที่ว่า ‘อยู่คนเดียวให้ระวังความคิด อยู่กับมิตรให้ระวังคำพูด’
ที่มา t o d a y.l i n e.m e, v e r r y s m i l e j u n g