วันนี้เราจะพาคนที่ชอบกินข้าวเหนียวทุกๆ วัน ไปดูสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับคุณเอง ว่าเมื่อกินข้าวเหนียวแล้วจะมีผลดี และผลเสียต่อตัวคุณอย่ า งไร บ้าง กับ ข้าวเหนียว เรื่องใกล้ตัวที่คนชอบกินต้องรู้
เชื่อว่าหล า ยๆคนต้องเคยมีประสบการณ์ในการรับประทานข้าวเหนียวกัน มาบ้าง โดยเฉพาะวิถีชีวิตทางภาคอีสาน ซึ่งในสมัยก่อนจะมีกระติ๊บสานสำหรับใส่ข้าวเหนียวโดยเฉพาะ แต่ในปัจจุบันที่การรับประทานข้าวเหนียวแพร่หล า ยมากขึ้น หล า ยคนก็นำกระติกน้ำแข็งมาใส่ข้าวเหนียวแทนกระติ๊บข้าว
เพราะหาซื้ อง่าย มีร า ค าถูก และ มีน้ำหนักเบาเคลื่อนย้ายสะดวก แต่รู้หรือไม่ว่าการใช้กระติกที่ถูกออ กแบบมาให้ใช้ใส่ของเย็นอย่ างกระติกน้ำแข็งมาใส่ของร้อนๆอย่ างข้าวเหนียวแทน พฤติก ร ร มแบบนี้ เสี่ยงเป็น อั น ต ร า ย ต่อ สุ ข ภ า พ มาก ได้มีข้อมูลจาก ผศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อ.ภาควิช าชีววิทย า คณะวิทย าศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทย าลัย ออ กมาเปิดเผยว่า หากใช้กระติกน้ำแข็งชนิดคุณภาพดี ( food grade )
จะสามารถทนความร้อนจากข้าวเหนียวได้ และไม่เป็น อั น ต ร า ย ต่อสุขภาพ แต่ในกรณีที่ใช้กระติกร า ค าถูกคุณภาพต่ำ ที่ทำมาจากพลาสติกที่รีไซเคิลซ้ำ จะมีความ เ สี่ ย ง อย่ างมาก ซึ่งโดยส่วน มากจะเห็นพลาสติกแบบนี้
วางข า ยอยู่ทั่วไปต ามท้องตลาด และมีร า ค าที่ถูกกว่าพลาสติกคุณภาพดี จึงทำให้นิยมซื้ อแบบนี้มาใช้กัน และ จะมีการใช้ผ้าขาวรองกระติกไว้ ซึ่งในส่วนของผ้าขาวที่จะนำมาใช้รองข้าวเหนียวในกระติกนี้ ควรจะเป็นผ้าฝ้ายที่ทำจากเส้นใยธรรมช าติจริงๆ
ไม่ควรใช้ผ้าเส้นใยสังเคราะห์ หรือผ้าไนล่อนร า ค าถูก เพราะผ้าพวกนี้จะมีโพลีเมอร์ หรือ พลาสติกเกรดต่ำเป็นส่วนประกอบ ทำให้ทนความร้อนได้ไม่ดี เมื่อเจอความร้อนจากข้าวเหนียว พลาสติกเหล่านี้อาจละล า ยและซึมเข้าไปปะปนในข้าวได้
ดังนั้นควรจะใช้ถุงสำหรับใส่ของร้อน มาใส่ข้าวเหนียวร้อนๆจะดีกว่า อาจารย์เจษฎา ยังบอ กอีกว่า ‘ผมไม่แนะนำให้เก็บข้าวเหนียวร้อน ที่สัมผัสกับพลาสติกโดยตรง ถ้าเป็นไปได้ อย ากให้ใส่ข้าวเหนียวในหม้อโลหะหรือคดใส่ในถุงถุงร้อน แล้วค่อยใส่ลงในกระติกอีกที จะเป็นการดีที่สุด และสามารถมั่นใจได้มากกว่าครับ’
นอ กจากนี้ยังมีข้อมูลเพิ่มเติมจากเพจ เคมีฟิสิกส์ของสิ่งทอ อาหาร และของรอบตัว เคยได้ให้ข้อมูลไว้ว่า กระติกน้ำแข็งที่ได้มาตรฐานนั้น จะผลิตจากพลาสติกชนิด PP และ HDPE ซึ่งเป็นเกรดในการบรรจุหรือสัมผัสอาหาร ( food grade )
มีจุดอ่อนตัวอยู่ที่ 80-100 องศาเซลเซียส และ 120 องศาเซลเซียส จึงสามารถทนความร้อนได้ดีและสามารถทนความร้อนระดับข้าวเหนียวได้ เพราะไม่ได้ร้อนเป็น 100 องศาเซลเซียสหรือสูงกว่านั้น แบบอุณหภูมิในน้ำเดือ ด
โดยที่ไม่ได้มีส า ร เ ค มี ละล า ยออ กมาอย่ างที่กังวลกัน หากรู้แบบบนี้แล้ว ใครที่มีพฤติก ร ร มการใส่ข้าวเหนียวในกระติกแบบที่กล่าวมาข้างต้น ก็ควรจะหลีกเลี่ยงการใช้กระติกพลาสติกใส่ข้าวเหนียว แล้วใช้ภาชนะที่ปลอ ดภั ยจากสารเคมีจะดีกว่านะคะ
หรือควรเป็นพลาสติกคุณภาพดีที่ทนต่อความร้อนได้ไม่ละล า ย เพราะหากมองว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย และเมินเฉยต่อ การกระทำแบบนี้ จะทำให้ร่างกายได้รับ ส า ร เ ค มี เข้าไปโดยที่ไม่จำเป็น และส่ งผลต่อสุขภาพในอนาคตได้ค่ะ
ที่มา : bitcoretech