คนใช้รถทุกวันต้องรู้ พ.ร.บ.รถที่จ่ายทุกๆ ปี สามารถเบิกเงินสูงสูดได้ 300000

วันนี้เราจะพาคุรไปดูว่าการที่คุณจ่าย พ.ร.บ. รถยนต์ทุกๆ ปี สามารถที่จะสร้างคุณประโยชน์ให้กับคุรได้มากแค่ไหน กับบทความ คนใช้รถทุกวันต้องรู้ พ.ร.บ.รถที่จ่ายทุกๆ ปี สามารถเบิกเงินสูงสูดได้ 300000 ไปดูกันว่าสามารถเบิกคืนได้อย่ างไรบ้าง

การทำพ.ร.บ.รถนั้นเป็นสิ่งที่กฎหมายบังคับให้ทำโดยมีการบังคับต ามพ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติคุ้มครองผู้ประสบ ภั ยจากรถ พ.ศ. 2535 ซึ่งการทำพ.ร.บ.รถยนต์จะช่วยคุ้มครองรถของเราและสามารถเบิก

เรื่องค่ า เ สี ย ห า ย

การที่รถของเรามีการทำพ.ร.บ. อ ย่ า งถู กก ฎ หมายจะช่วยให้เราสามารถเบิกเงินจากทางบริ ษั ทประ กั น ภั ยที่เราทำเอาไว้ได้ ซึ่งเป็นเงินค่าใช้จ่ายที่เราผู้เสียห า ยหรือผู้ประสบภั ย

ทั้งคนขับเองและผู้โดยส า รรวมทั้งบุคคลที่อยู่ ระ ส บ ภั ยซึ่งอาจเป็นบุคคลภายนอ ก โดยบริษัทปร ะ กั น ภั ยจะจ่ายค่าเสียห า ยให้ภายใน 7 วัน โดยยังไม่ต้องรอผลพิสูจน์ว่าฝ่ายใดเป็น ฝ่า ยผิ ด

ค่ารั ก ษ าพ ย าบาล ในกรณีได้รับ บ า ด เ จ็ บ จะทำการจ่ายค่าชดเชยให้ต ามจริง และสามารถเบิกได้สูงสุดคนละ 30,000 บาท

หากมีกา รเ สี ย ชี วิ ต หรือ สู ญ เ สี ย อ วั ย ว ะ หรือ พิ ก า รถาวร จะสามารถเบิกค่าชดเชยได้ กรณีละ 35,000 บาท

หากได้รับความ เสี ยห า ยทั้ง 2 กรณี ทางบริษัทจะจ่ายเงินชดเชยรวมกัน ทั้งหมดโดยไม่เกินกรณีละ 65,000 บาท

การทำ พ.ร.บ.รถยนต์เราสามารถเบิกค่าเสียห า ยอะไรได้บ้าง

ค่าสินไหมทดแทน เป็นเงินในส่วนที่เราเรียกกันว่า ค่าสินไหมที่ผู้เคลมปร ะกั นจะได้รับค่าสินไหมทดแทน หลังจากการพิจารณาแล้วว่าเป็นฝ่ายถูก ซึ่งสามารถเบิกค่าสินไหมทดแทนได้ต ามรายละเอียดดังนี้

1 ค่ารั ก ษ า พ ย า บาล ซึ่งสามารถเบิกได้สูงสุดคนละ 80,000 บาท

2 หากเ สี ย ชี วิ ตหรือพิ ก า ร ถ า วร สามารถเบิกได้คนละ 300,000 บาท

3 ในกรณีที่สู ญ เ สี ย อ วั ย วะ บางส่วน สามารถเบิกได้ 250,000 บาท

4 ในกรณีที่ สู ญ เ สี ย อ วั ย ว ะ 2 ส่วนขึ้นไป สามารถเบิกได้ 300,000 บาท

5 หาก สู ญ เ สีย นิ้ ว มื อตั้งแต่นิ้วเดียวขึ้นไป สามารถเบิกได้ 200,000 บาท

6 เงินค่าชดเชยในการนอนโ รง พ ย า บ า ลเพื่อรั ก ษ า ตั ว โดยต้องมีการส่ ง ตัวเป็ นผู้ ป่ ว ยใ น เบิกได้วันละ 200 บาท โดยไม่เกิน 20 วัน

สรุปคือ การที่เราทำพ.ร.บ.รถยนต์ จะทำให้เราได้รับความคุ้มครองต ามกฎหมาย ช่วยให้เราสามารถเบิกเงินจากประกัน ภั ยที่เราทำไว้ได้ แม้ว่า อุ บั ติเ ห ตุที่เกิดขึ้นจะมีหรือไม่มีคู่ กรณีก็ ต าม และหากมีคู่กรณีและมีการพิสูจน์หลักฐานและตัดสินแล้วว่าเราเป็นฝ่ายถูก เราก็จะได้รับค่าสินไหมทดแทนเพิ่มเติมด้วย

เอ กส า รที่ต้องใช้เมื่อทำการเคลม พ.ร.บ.

1 ในกรณีได้รับ บ า ดเ จ็ บ

ให้เตรียมสำเนาประช าชนผู้ประสบอุบั ติเ ห ตุ, ใบเสร็จค่ารั ก ษ า พย าบ า ล ในกรณีที่ต้องเบิกค่าชดเชย หรือ การเข้าพักในโรง พ ย า บา ลเป็นผู้ ป่ ว ยใน และ ใบรับร งแ พ ทย์

2 ในกรณีที่ ทุ พ พ ล ภ า พ หรือ พิ ก าร

ใช้สำเนาบัตรประช าชนผู้ประสบอุ บัติเ ห ตุ, ใบรังรองแพทย์หรือเอ กส า รยืนยันความ พิ ก า ร จากแ พ ท ย์, สำเนาใบการลงบันทึกประจำวันจากเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้เป็นพนักงานสอบสวน หรือใช้เอ กส า รหลักฐานอื่นที่แสดงให้ทราบว่า บุคคลนั้นไ ด้รั บ อุ บั ติเ ห ตุจากเหตุการณ์นั้นๆ

3 ในกรณีเ สี ย ชี วิ ต

สำเนาบั ต รประช า ช นของผู้ประสบเห ตุ หรือ ใบม ร ณ ะบั ตร, สำเนาบัตรประช าชนของท า ย าท, สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาการลงบันทึกประจำวันจากพนังงานสอ บสวน หรือหลักฐานอื่นๆที่แสดงให้เห็นว่าบุคคล เสี ย ชี วิ ตจากอุ บั ติ เ ห ตุนั้นๆ

ทั้งนี้หลังจากที่มีการตรวจสอบเอ กส ารทั้งหมดเรียบร้อยถูกต้องแล้ว เราจะสามารถยื่นเบิกกับบริ ษั ทกลางคุ้มครองผู้ประส บ ภั ยจากรถยนต์ได้ทุกสาขา ซึ่งในบางกรณีอาจ

ใช้ระยะเวลาในการตรวจเอ กส า รและทำการจ่ายเงินให้ภายใน 7 วัน ซึ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ พ.ร.บ.นี้จะคุ้มครองความเสียห า ยให้กับคนเท่านั้น ไม่รวมประกันของรถยนต์หรือค่าซ่อมใดๆ

เรียบเรียงโดย krustory