หลักคิดสอนลูกให้รู้จักบริหารเงิน โตไปชีวิตไม่เป็นหนี้

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้หลักความคิดเรื่องเงินเพื่อนำไปสอนลูกของเราให้รู้จักบริหารการเงินเพื่ออนาคตที่ไม่ลำบาก กับบทความ หลักคิดสอนลูกให้รู้จักบริหารเงิน โตไปชีวิตไม่เป็นหนี้ ไปดูกันว่าจะต้องสอนลูกให้รู้จักบริหารเงินอย่ างไรบ้าง

โบราณว่า ‘มีลูก 1 คน จนไป 7 ปี’ เพราะกว่าจะเลี้ยงเด็กคนหนึ่งให้โตขึ้น มาได้ เต็มไปด้วยภาระและค่าใช้จ่ายหนักอึ้ง ตั้งแต่ค่าคลอ ดย าวไปถึงค่าเล่าเรียนปริญญาโทจนบางครอบครัว ถึงกับต้องยอมเป็นหนี้ยิ่งถ้ามีลูกมากกว่า 1 คนก็ยิ่งไม่ง่าย ทักษะการบริหารเงินจึงเป็นสิ่งที่คนเป็นพ่อแม่จำเป็นต้องมี มาดูกันว่ามีเทคนิคอะไรบ้าง ที่ทำให้พ่อแม่บริหารเงินให้ได้ดียิ่งขึ้น

1 ปลูกฝังวินัยการใช้เงินให้ลูก

ต่อให้พ่อแม่ประหยัดแค่ไหน แต่ถ้าลูกยังใช้เงินเป็นกระดาษ ก็อาจพาครอบครัวสู่ความลำบากได้สักวันฉะนั้น อย่ าลืมสอนให้ลูกใช้เงิน อย่ างชาญฉลาดด้วยและเป็นตัวอย่ างที่ดีให้ลูกดู สม่ำเสมอเพื่อ สุ ข ภ า พ ทางการเงินที่ดีของครอบครัวในวันนี้ และเพื่ออนาคตของลูกเองในวันหน้า

2 ทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย

เมื่อสมาชิกในครอบครัว เพิ่มขึ้น รายจ่ายก็ยิ่งยิบย่อย ฉะนั้น การทำบัญชีรายรับรายจ่ายจึงสำคัญ เงินเข้ามาเท่าไร จ่ายออ กไปกับอะไรบ้างอย่ าลืมบันทึกไว้ให้ดี มีรูรั่วตรงไหนจะได้อุดทัน คอยระวังอย่ าให้รายจ่ายเกินรายรับไปเด็ดข า ด

3 อย่ าวางใจรายได้ทางเดียว

แม้ว่าจะมีรายได้มาก แต่ถ้าเป็นรายได้ ที่มาจากทางเดียวก็ไม่ควรไว้วางใจ เพราะเรื่องไม่คาดฝันเกิดขึ้นได้เสมอถ้าไม่เหลือบ่ากว่าแรง ควรหาช่องทางรายได้เสริมอื่นเผื่อไว้บ้าง เช่น ขายของออนไลน์ ขายงานฝีมือ เป็นต้น

4 เงินสำรองฉุ กเ ฉิ นต้องมี

นอ กจากค่าใช้จ่ายที่เล็งเห็นได้ ยังต้องออมเงินไว้เผื่อเหตุฉุ กเ ฉิ นอื่น ๆ โดยควรมีเงินสำรองฉุ กเ ฉิ นเก็บไว้ไม่น้อยกว่า 6 เท่าของค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต่อเดือนและไม่แตะต้องเงินจำนวนนี้ ถ้าไม่จำเป็น แบบนี้แม้ว่าครอบครัว จะข า ดรายได้กะทันหัน ก็ยังมีเงินพอ กินอยู่ไปได้อีกประมาณครึ่งปีนั่นเอง

5 อะไรประหยัดได้ก็ประหยัด

ถึงจะหาเงินได้มาก แต่ถ้าเอาเงินไปจ่ายกับสิ่งไม่จำเป็น ก็ไร้ประโยชน์ ฉะนั้นอย่ าลืมตัดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยออ กไปด้วยและคอยมองหาช่องทางประหยัดเงิน สม่ำเสมอ เช่น น้องรับช่วงต่อ ของใช้จากพี่ ไม่ยึดติดกับสินค้าแบรนด์ดังทำอ าห า รกินเองที่บ้านแทนการออ กไปกินข้างนอ ก เป็นต้น

6 ออมเงินแยกเป็นส่วน ๆ

ออมเพื่อเป็นค่าคลอ ด ค่าเทอม ค่าเรียนพิเศษ ค่ารั ก ษ า พ ย า บ า ล ฯลฯ ส ารพัดค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการเลี้ยงลูกควรประเมินจำนวนเอาไว้คร่าว ๆ ล่วงหน้า และเก็บเงินแยกเป็นส่วน ๆ ไว้ต ามวัตถุประสงค์ ถึงเวลาต้องจ่ายจริงจะได้ไม่ขัดสน

7 ทำประกั น

หัวหน้าครอบครัว ควรวางแผนทำประกันอย่ างเหมาะสม เช่น ประกันชีวิต ป ร ะ กั น สุ ข ภ า พหากเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้น มา คนข้างหลังจะได้ก้าวต่อไปได้ ไม่ต้องห่วงหน้าพะวงหลัง

8 ล งทุ นให้เหมาะสม

มองหาช่องทางล งทุ นอื่น นอ กเหนือจากเงินฝาก เช่น ล งทุ นในหุ้น กองทุน สลากออมสิน ฯลฯ อย่ างไรก็ต ามไม่ควรทุ่มเงินล งทุ นในหลักท รั พ ย์ที่ความ เ สี่ ย ง สูง ในจำนวน มากเกินไป เพราะมีครอบครัวต้องดูแลอาจจะไม่สามารถรับความ เ สี่ ย ง ได้เท่ากับคนโสด เน้นความมั่นคงในระยะย าวจะดีกว่า

ที่มา P a r e n t s O n e, f a h h s a i