วันนี้เราจะพาคุณพ่อคุณแม่ยุคใหม่ไปเรียนรู้วิธีการเลี้ยงลูกให้รู้จกคุณค่าของสิ่งของรอบกายและรู้จักกับคุณค่าของเงินทองที่หามาได้ กับบทความ 5 วิ ธีเลี้ยงลูกให้รู้คุณค่าของสิ่งของและเงิน ไปดูกันว่าการเลี้ยงลูกให้รู้จักคุณค่าของสิ่งของต่างๆ จะทำให้ลูกเติบโตมาเป็นคนอย่ างไร
1 รางวัลมิใช่สิ่งของเสมอไป
การแสดงความชื่นชมลูก ไม่จำเป็นต้องให้เป็นของขวัญร าค าแพงเสมอไป รวมทั้ง ไม่ควรให้รางวัลเป็นสิ่งของบ่อยครั้งจนเกินไป รางวัลสำหรับลูกอาจเป็นคำชมเชย หรือ การทำกิจก ร ร มร่วมกัน เช่น ทำอ าห า รรับประทานร่วมกัน หรือไปท่องเที่ยวด้วยกัน ซึ่งเป็นการสร้างความรักและความผูกพันให้เกิดขึ้นในครอบครัว ในขณะที่การ ให้รางวัลเป็นวัตถุสิ่งของร าค าแพ ง หรือให้บ่อยครั้งเกินไป อาจเป็นการบ่มเพาะให้ลูกยึดติดกับการบริโภควัตถุสิ่งของก็ได้
2 พาลูกไปซื้ อของด้วย
การพาลูกไปซื้ อของด้วย พ่อแม่สามารถสอนให้ลูกรู้จักเปรียบเทียบร าค าสินค้าก่อนซื้ อ เช่น ซื้ อสินค้ายกโหลช่วยให้ประหยัดเงินได้มากกว่าซื้ อทีละชิ้น หรือซื้ อสินค้า โดยรู้จักพิจารณาคุณภาพและร าค าควบคู่กัน เพราะหากเป็นของถูก แต่คุณภาพไม่ดี ทนทานน้อย ใช้ได้ไม่นาน ทำให้ต้องเสียเงินซื้ อบ่อย แบบนี้ก็ไม่ได้ช่วยให้ ประหยัดเงินเท่าไร และอีกสิ่งหนึ่งที่ไม่ควรลืมสอน ก็คือ ความแตกต่างของคำสองคำ ‘ความต้องการ’ และ ‘ความจำเป็น’ เพราะเด็กมักแยกแยะสองสิ่งนี้ได้ย าก โดยมองว่าสิ่งที่เขาต้องการเป็นสิ่งที่จำเป็นทุกครั้ง ซึ่งพ่อแม่ควรชี้แจงให้ลูกเข้าใจว่าสิ่งของที่จะซื้ อนั้น เป็นสิ่งจำเป็น หรืออย ากได้
2. ให้ลูกรับผิดชอบการใช้เงินด้วยตัวเอง
สามารถสอนให้ลูกบริหารรายรับด้วยตนเอง โดยให้เงินลูกใช้จ่ายเป็นรายสัปดาห์ หรือรายเดือน เพื่อให้ลูกรู้จักประเมินว่าควรใช้จ่ายอย่ างไร ยกตัวอย่ างเช่น ให้เงินลูก เป็นรายสัปดาห์ สัปดาห์ละ 100 บาท นั่นหมายความว่า เฉลี่ยแล้วไม่ควรใช้เกินวันละ 20 บาท พ่อแม่อาจแนะนำลูกว่า หากวันใดใช้เกิน 20 บาท ก็ควรลดค่าใช้จ่ายของ วันถัดไป ซึ่งวิธีเช่นนี้จะช่วยให้ลูกสามารถบริหารเงินรายรับได้เพียงพอตลอ ดทั้งสัปดาห์
4 อย ากได้…ให้เก็บออม
เวลาที่ลูกอย ากได้สิ่งของใดๆ หากไม่เหลือบ่ากว่าแรงของผู้เป็นพ่อแม่ พ่อแม่ส่วนใหญ่มักจะต ามใจลูก ซื้ อของให้ลูกต ามที่ลูกต้องการ ซึ่งการต ามใจลูกเช่นนี้อาจ ส่ งผลเสียในระยะย าวได้ ดังนั้น หากลูกต้องการสิ่งของใดๆ แล้ว พ่อแม่อาจใช้หลักจ่ายคนละครึ่งกับลูก เพื่อฝึกให้ลูกรู้จักเก็บออม สมมุติ สิ่งของที่ลูกอย ากได้ 100 บาท พ่อแม่ก็อาจกำหนดว่าเก็บเงินได้ถึง 50 บาทเมื่อไร จะซื้ อของชิ้นนั้นให้ วิธีนี้จะทำให้ลูกได้เรียนรู้ว่าหากต้องการได้สิ่งของใดๆ แล้ว มิใช่ร้องขอจากพ่อแม่ได้ทั้งหมด แต่ต้องรู้จักเก็บออมเงินด้วยตัวเอง และการที่พ่อแม่ช่วยออ กอย่ างน้อยครึ่งหนึ่ง จะทำให้ลูกรู้สึกมีกำลังในการเก็บออม เพราะไม่ต้องเก็บออมเงินทั้งหมดเพียงผู้เดียว
5 รู้จักเก็บ ต้องรู้จักให้
นอ กจากสอนลูกให้รู้จักเก็บออมเงินแล้ว ผู้เป็นพ่อแม่ต้องสอนให้ลูกเป็นผู้รู้จักให้ รู้จักแ บ่ งปั นด้วย เช่น แบ่งเงินส่วนหนึ่งไปทำบุญบ ริจ า ค หรือเก็บออมเงินส่วนหนึ่ง สำหรับซื้ อของขวัญให้ญาติผู้ใหญ่ในเทศกาลต่างๆ สิ่งเหล่านี้เป็นการปลูกฝังการเป็นผู้ให้ที่ดี และสอนให้เด็กรู้ว่าเงินของเขานั้น นอ กจากจะสามารถสร้างความสุข
ให้ตนเองแล้ว ยังสามารถเผื่อแผ่ไปยังบุคคลอื่น หรือคนที่เขารักได้อีกด้วย การสอนให้ลูกรู้จักการออมและรู้จักการใช้เงินตั้งแต่ลูกยังเล็กเป็นสิ่งที่จำเป็น ซึ่งวิธีการสอนลูกดังกล่าวข้างต้นอาจปรับใช้ได้ต ามความเหมาะสมของแต่ละครอบครัว
แต่สิ่งหนึ่งที่ทุกครอบครัวจะต้องชี้ให้ลูกเห็นก็คือคุณประโยชน์ที่ได้จากการออมและการเลือ กใช้เงินอย่ างช าญฉลาด รวมทั้งพ่อแม่ต้องเป็นแบบอย่ างที่ดีแก่ลูกซึ่งจะทำให้ ลูกตระหนักถึงคุณค่าของเงินและรู้จักเก็บออมเงิน ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะติดตัวเด็กไปจนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต
ที่มา d d p r o p e r t y . c o m, f a h h s a i