6 วิธีปรับตัวให้อยู่รอ ดในวันที่เงินเก็บเหลือน้อยลงทุกที

หากวันนี้คุณนั้นเป็นคนหนึ่งที่มีเงินเหลือน้อยลงในทุกๆวัน วันนี้เราอย ากที่จะแนะนำคุณให้รู้จักการปรับตัวเพื่อให้ใช้ชีวิตอยู่รอ ดได้ต่อไปกับเงินที่เหลืออยู่ กับ 6 วิธีปรับตัวให้อยู่รอ ดในวันที่เงินเก็บเหลือน้อยลงทุกที ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง

เชื่อว่าหล า ยๆ คนต้องเจอกับปัญหาเงินช็อต เงินติดลบ หมุนเงินไม่ทัน ยืมเงินจากนั่น มาโปะนี่ จนทำให้เปิดห นี้ท่วมหัว พอถึงสิ้นเดือนก็ใช้แต่ห นี้ หมุนนั่นหมุนนี่ ไม่มีเงินเก็บสักที แต่หล า ยๆ

คนก็ไม่รู้จะทำอย่างไรดี วันนี้เราจะนำเสนอ 6 วิธีการใช้ชีวิต หากวันใดวันหนึ่ง ชีวิตของใครหล า ยคนต้องประสบกับปัญหาหมุนเงินไม่ทัน เงินติดลบ ไม่พอใช้ มาดูกันว่าเราจะมีวิธีการจัดการเรื่องเหล่านี้อย่ างไรบ้าง

1 ตั้งสติเอาไว้ก่อน

ปรับเปลี่ยนพฤติก ร ร มของตนเอง หยุดก่อห นี้ หยุดสร้างห นี้เพิ่มโดยเด็ดข าด ไม่ว่าจะต้องลำบากขนาดไหน ที่สำคัญต้องหยุดหาห นี้ใหม่มาจ่ายห นี้เก่า เพราะจะทำให้เป็นห นี้แบบงูกินหาง ไม่รู้จักจบ ต้องอยู่ให้ได้ด้วยเงินเดือนของตัวเอง

2 เรียนรู้วิธีแก้ปัญหาห นี้

จ่ า ย ขั้นต่ำ เ พื่ อ รั ก ษ า บัญชีและเครดิต วิธีนี้เหมาะกับผู้ที่มีห นี้ไม่เยอะ อาจจะมีห นี้เพียง 2-3 บัญชี แนะนำให้จ่ายขั้นต่ำต ามใบเรียกเก็บเงิน หรือจ่ายให้มากกว่าขั้นต่ำสักเล็กน้อย ที่สำคัญต้องมีวินัยในการผ่อนชำระ หากหมดภาระห นี้แล้ว ไม่ควรก่อห นี้ใหม่เพิ่มอีกเป็นอันข าด เพราะจะทำให้มีห นี้ไม่หมดสิ้น มีแต่จะเพิ่มมากขึ้น ข า ดท รั พ ย์สินที่ข า ดได้ออกไปเป็นเงินสด เพื่อนำมาปิดห นี้ให้ได้มากที่สุด

หากมีห นี้สิน มากให้เลือกปิดทีละรายการที่สามารถปิดห นี้ได้ เพื่อให้เหลือจำนวนเจ้าห นี้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ หากไม่สามารถทำได้ หรือไม่มีท รั พ ย์สินที่สามารถข า ดเพื่อปลดห นี้ได้ ก็จะเข้าสู่กระบวนการของศาล ในระหว่างนั้นแนะนำให้เก็บเงินให้มากที่สุด อย่าได้หลงระเริงกับเงินที่มี ต้องเตรียมสะสมเงินเพื่อเคลียร์ห นี้สินทั้งหมด

3 ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น

อันดับแรกต้องทำบันทึกรายรับ-รายจ่ายของตนเองทุกวัน ในแต่ละเดือน มีรายได้จากไหนบ้าง พอใช้จ่ายหรือไม่ หรือในแต่ละเดือนต้องใช้จ่ายอะไรบ้าง เช่น ค่าใช้จ่ายในครอบครัว ค่าเดินทาง ค่า อ า ห า ร ค่าโทรศัพท์ ค่าผ่อนชำระห นี้สินค้า ค่าใช้จ่ายสังสรรค์ แล้วรวมกันว่ามีค่าใช้จ่ายทั้งหมดเท่าไหร่

ใช้เงินไปกับอะไรมากที่สุด จำเป็นหรือไม่จำเป็นต่อชีวิต ถ้าไม่จำเป็นต้องเลิกหรือหยุดทันที หากใครไม่เคยจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย จะทำให้ไม่รู้ว่าในแต่ละเดือน มีการใช้จ่ายอะไรบ้าง และหมดไปกับอะไรบ้าง ดังนั้น เมื่อรู้ปัญหาแล้วว่าเงินหมดไปกับอะไร หากเป็นค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยที่สามารถประหยัดได้ ควรประหยัดอย่างจริงจัง

4 สำรวจภาระห นี้สินที่มีอยู่

ควรแยกแบ่งประเภทห นี้สินที่มี แยกประเภทห นี้ จำนวนห นี้ อัตรา ด อ ก เ บี้ ย ที่ต้อง ชำ ร ะ อัตราขั้นต่ำที่ต้องชำระ จากนั้นให้คำนวณยอ ดห นี้ทั้งหมด คำนวณรายได้ทั้งหมด เรียงลำดับยอ ดห นี้ที่สำคัญจากมากไปหาน้อย

5 ห นี้สำคัญจ่ายก่อน

โดยเฉพาะห นี้ผ่อนบ้าน ผ่อนรถ ส่วนห นี้บัตรเครดิต หรือห นี้สินเชื่อส่วนบุคคล ให้จ่ายเท่าที่จ่ายได้ โดยเลือกจ่ายห นี้ที่มี ด อ ก เ บี้ ย สูงก่อน และติดต่อขอประนอมห นี้ ขอผ่อนจ่ายในแต่ละเดือน และควรติดต่อเจ้าห นี้อยู่ตลอ ด อย่าคิดหนีห นี้

6 หาช่องทางสร้างรายได้เพิ่ม

ต ามหลักความจริงแล้ว เมื่อเงินหมด ก็ต้องหาเพิ่ม เหมือนน้ำในตุ่มหมดก็ต้องตักมาเพิ่ม ใครที่เป็นห นี้ เงินติดลบ ลองสำรวจตัวเองว่า มีของอะไรข า ดได้ มีความสามารถอะไร หรือมองหาอาชีพเสริมที่พอสร้างรายได้ เช่น ทำกับข้าว ทำขน มข า ด หรือไม่ถ้ามีทักษะการข า ด ก็หาซื้ อสินค้าต่างๆ ไปข า ดต ามตลาดนัด หรือหากมีทักษะอื่นๆ ก็ทำได้เลยครับ

ที่มา sabailey