7 สิ่งที่ควรทำ หลังวัยอายุสามปี

วันนี้เราจะพาเพื่อน ๆไปเรียนรู้ข้อคิดและสิ่งที่ควรทำ ลงมือทำหลังวัย 30 ปี กับบทความ 7 สิ่งที่ควรทำ หลังวัยอายุสามปี ไปดูกันว่ามีเรื่องราวอะไรบ้างที่ควรทำและวางแผนชีวิตให้ดีเพื่ออนาคตที่ไม่ลำบากของเพื่อนๆ

1 วางแผนเกษียณหรือยัง

‘แก่ไม่ว่า แต่อย่ าแก่แบบไม่มีเงิ นครับ’ ที่บอ กแบบนี้ เพราะอย ากให้วางแผนเกษียณกันไวๆ ยิ่งวางเร็วยิ่งดี ดังนั้นการเริ่มต้น ตั้งแต่วันนี้ ก็เพื่อผลประโยชน์ สำหรับเราเองครับ ไม่ต้องลำบากลูกหลาน

2 คุณต้องมีเงิ นสำรองฉุกเฉินอย่ างน้อย 6 เดือน

คิดจาก ( รายจ่ายปกติต่อเดือน x 6 เดือน = เ งิ นสำรองฉุกเฉินที่ควรมี ) เงิ นจำนวนนี้ จะช่วยให้เราสามารถ รับมือ กับปัญหา ด้านการเงิ นได้ โดยไม่ต้องกู้ยืมเงิ นคนอื่น เพราะการกู้ยืมเ งิน อาจจะทำให้เรา กลับเข้าไปอยู่ในวงจรห นี้อีกครั้ง

3 รู้ตัวเองก่อนว่ามีอะไรมากกว่ากัน

ระหว่าง’ท รั พ ย์สิน’กับ’ห นี้สิน’ หากว่าเพื่อนๆ มีรายได้เดือนนึง หลักหล า ยหมื่น แต่กลับมีรายจ่ายสูงพอๆกับรายรับ สิ่งที่ควรใส่ใจ อย่ างแรกเลยคือลิสต์รายการ ของท รั พ ย์สิน เพื่อเปรียบเทียบ กับห นี้สินที่มีทั้งหมดครับ และถ้าหากมานั่งงงว่า…เฮ้ย

เราก็มีสินท รั พ ย์เยอะนะ มือถือรุ่นใหม่ๆ,กล้องถ่ายรูปแพงๆฯลฯ แต่ทำไมยังจนอยู่ มีแต่ห นี้สินคิดง่ายๆเลยครับ มือถือ 1 เครื่อง ร า ค าประมาณ 25,000–30,000 บาท แต่ร า ค าขา ยต่อมูลค่า มันห า ยไปแทบจะครึ่งนึงแล้วครับ แค่นี้ก็พอจะมองออ กแล้วใช่มั้ยครับ ว่าเพื่อนๆต้องเริ่มกลับมาวางแผน การเ งินให้ตัวเองได้แล้ว เริ่มต้นง่ายๆที่เริ่มสะสมท รั พ ย์สิน ที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่นหุ้นกองทุนรวมเป็นต้น

4 เริ่มทยอยปลดห นี้ให้หมดได้แล้ว

ไม่ว่าจะเป็นค่าผ่อนรถ,ค่าบัตรเครดิต,หรือแม้แต่ค่าผ่อนสินค้า 0% ต่างๆ นั่นเพราะยิ่งปลดห นี้เร็วเท่าไหร่ เราก็สามารถ นำเงิ นไปต่อยอ ด ได้มากขึ้นเท่านั้นครับ และถ้ายังไม่แน่ใจว่า จะปลดห นี้ยังไงดี แนะนำให้เริ่มจากดูว่า เรามีห นี้ทั้งหมดกี่ราย, จำนวนเ งินที่เป็นห นี้

ของแต่ละราย และอัตราดอ กเบี้ย จากนั้นให้จัดลำดับห นี้ โดยให้ห นี้ที่มีอัตราด อ กเบี้ยสูงสุด อยู่ด้านบน และเริ่มต้นปลดห นี้ จากก้อนนั้นก่อน แล้วค่อยๆทยอยปิดห นี้ ก้อนอื่นๆต่อไปจนหมดครับ

5 สร้างงบการเงิ นในแบบของตัวเองได้แล้ว

แม้เพื่อนๆจะหาเงิ นได้มาก แต่หากบริหารเงิ นไม่ดี เงิ นที่ได้มา ก็จะห า ยไปง่ายๆ เรียกว่า..’ร ว ยเดย์ร ว ยกันแค่วันสิ้นเดือน’ ดังนั้นสิ่งที่เพื่อนๆต้องให้ความสนใจ ในลำดับถัดมา คือ การสร้าง งบรายจ่าย หากไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง ให้เริ่มต้นจาก งบการเงิ น50 – 30 – 20 ดูครับ ( สิ่งจำเป็น,สิ่งอย ากได้,ออมฉุกเฉิน )

6.บริหารความเสี่ยงให้เป็น

การมีสติ ช่วยให้เราผ่านทุกปัญหาได้ เพราะสิ่งที่เราจะพูดต่อไปนี้ คือเรื่องของความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าคุณจะโสด หรือไม่ก็ต าม ความเสี่ยงที่ควรพิจารณามี 3 ด้าน คือ

6.1 ความเสี่ยงด้านชีวิตและสุขภาพ:

เริ่มจากการคิดว่า หากเราเ จ็ บป่ ว ย หรือเกิดเหตุไม่คาดคิด ครอบครัวจะต้องลำบาก เพราะข า ดกำลังสำคัญรึเปล่า? หากคำตอบคือใช่ เราลองบริหารความเสี่ยง โดยการซื้ อประกันดีมั้ย?

6.2 ความเสี่ยงด้านท รั พ ย์สิน:

นั่นก็คือหากเราหยุดทำงาน ( ไม่ว่าจะลาออ ก หรือไม่อย ากลาออ กก็ต าม ) เรามีความพร้อมรึยัง?หากไม่มีสิ่งแรกที่ควรทำคือ สำรองเงิ นฉุกเฉิน ประมาณ 6 เดือนของรายจ่ายเอาไว้ก่อน

6.3 ความเสี่ยงในการดำเนินชีวิต:

เช่นหากวันหนึ่ง เพื่อนๆขับรถแล้วเกิดอุบัติเหตุ เรามีประกันภั ยรถยนต์รึเปล่า? ถ้าไม่มีจะซื้ อมั้ย? ซื้ อประกันแบบไหนดี?

7 ศึกษาเรื่องภาษีได้แล้ว

ยิ่งรายได้มาก ก็อย่ าลืมว่าภาษีต้องเพิ่มขึ้น เป็นเงาต ามตัว เพราะถือเป็น กฎหมายที่ทุกคนในช าติต้องปฏิบัติต าม สิ่งที่เพื่อนๆควรศึกษา คือ กฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษี ไม่ว่าจะเป็นการลดหย่อน หรือ การละเว้นใดๆก็ต าม

ที่มา aommoney, stand-smiling