8 วิ ธีเลรี้ยงลูก ให้ไม่เป็นคนไม่ต่อต้าน ขึ้นเสียงใส่พ่อแม่

วันนี้เราจะพาคุณไปเรียนรู้วิธีการรับมือเมื่อลูกของคุณนั้นเป็นคนต่อต้านและทำสิ่งไม่ดีใส่พ่อแม่ กับบทความ 8 วิ ธีเลรี้ยงลูก ให้ไม่เป็นคนไม่ต่อต้าน ขึ้นเสียงใส่พ่อแม่ ไปดูก้นว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง เพื่อให้ลูกของคุณเป็นคนเชื่อฟัง ไม่ก้าวร้าว

ยิ่งลูกโตขึ้น การหวังลูกให้เป็นเด็กเชื่อฟัง ว่านอนสอนง่าย ยิ่งกล า ยเป็นเรื่องย าก เพราะลูกเริ่มมีความคิดและความต้องการเป็นของตัวเอง บางครั้งลูกสนใจสิ่งที่ อยู่ตรงหน้ามากกว่า หรือบางครั้งลูกก็ไม่อย ากคุย ไม่อย ากทำในสิ่งที่พ่อแม่ต้องการ จึงใช้วิธีทำหูทวนลม และเพิกเฉยต่อคำพูดของคุณพ่อคุณแม่ และนั่นอาจ จะทำให้คุณสติแตกได้

1 หาสาเหตุของการไม่เชื่อฟัง

ถ้าลูกเป็นเด็กเชื่อฟังคุณพ่อคุณแม่มาตลอ ด แต่บางครั้งที่ไม่เชื่อฟังอาจเป็นเพราะกำลังโกรธ เศร้าเสียใจ หรือต้องการให้พ่อแม่เอาใจมากขึ้น เช่น มีน้องเข้ามา เป็นสมาชิกใหม่ในบ้ าน ถูกกลั่นแกล้งหรือล้อเลียนตอนอยู่ที่โรงเรียน

สิ่งที่ควรทำ=พูดคุยและหาคำตอบสาเหตุที่ลูกไม่เชื่อฟัง และบอ กรักลูก ให้ลูกเชื่อมั่นว่ามีพ่อแม่อยู่ข้างๆ เสมอ นอ กจากนี้ควรสังเกตทัศนคติ วิธีคิด และการพูด ของลูก เพื่อที่จะเข้าใจลูกมากขึ้น

2 สอนด้วยการเป็นแบบอย่ างให้ลูกเห็น

เด็กวัย 3-6 ขวบ มักจะลอ กเลียนแบบพฤติก ร ร มของคนใกล้ชิด โดยไม่สามารถแยกแยะได้ควรหรือไม่ควรเลียนแบบพฤติก ร ร มอะไร ทำให้หล า ยครั้งลูกเผลอลอ กเลียน พฤติก ร ร มไม่ดีของผู้ใหญ่หรือคุณพ่อคุณแม่ เมื่อถูกตำหนิและต่อว่า ลูกจึงไม่เข้าใจว่าา ‘ทำไมคุณพ่อคุณแม่ยังทำได้เลย’ การทำให้ลูกเกิดความสงสัยโดยไม่ได้รับ

การอธิบายบ่อยครั้ง เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ลูกเริ่มไม่อย ากที่จะเชื่อฟังพ่อแม่อีกต่อไป

สิ่งที่ควรทำ=ลูกเรียนรู้จากการกระทำได้ดีกว่าคำพูด ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่ต้องเป็นตัวอย่ างให้ลูกเห็น มากกว่าการออ กคำสั่งว่าลูกควรทำอะไร หรือห้ามว่าไม่ควรทำอะไร

3 สอนด้วยคำพูด น้ำเสียง และสายต าแห่งความรัก

เมื่อไรก็ต ามที่ลูกทำผิด หรือไม่ทำต ามสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่บอ ก คุณอาจจะอ ดไม่ได้ที่จะตะคอ กลูกด้วยคำพูดแรงๆ และไม่สนใจฟังในสิ่งที่ลูกอย ากอธิบาย การขึ้นเสียง หรือตะคอ กอาจทำให้ลูกสงบลงได้ก็จริง แต่ในอนาคตลูกก็จะทำผิดซ้ำอีกอยู่ดี

สิ่งที่ควรทำ=เริ่มจากดึงความสนใจของลูกด้วยการ ‘เรียกชื่อลูก’ ใช้คำพูดง่ายๆ เพื่อให้ลูกทบทวนในสิ่งที่ทำผิด และใช้น้ำเสียงที่หนักแน่นแต่ไม่ดุดัน เช่น ถ้าลูก

กำลังกินขน มอยู่และมีเศษขน มตกพื้น แทนที่พ่อแม่จะดุที่ลูกทำขน มหกหล่นลงพื้น ลองเปลี่ยนเป็นบอ กทางป้องกันและแก้ปัญหา เช่น ‘ขน มที่หกลงพื้นแล้ว ลูกต้องเก็บไปทิ้งลงในถังขยะให้เรียบร้อยนะครับ และคุณแม่คิดว่าลูกควรเอาจาน มารอง เพื่อขน มจะได้ไม่หกลงพื้นต่อไป’ นอ กจากคำพูดกับน้ำเสียงแล้ว ภาษากายก็มีส่วนสำคัญในการช่วยให้ลูกรับฟังมากขึ้น คุณพ่อคุณแม่ควรย่อตัวให้สูงเท่าลูก มองลูกด้วยสายต าแห่งรัก และตั้งใจฟังสิ่งที่ลูกพูด

4 สอนด้วยการมีข้อตกลงร่วมกัน

เด็กทุกคน มีสิ่งที่ชอบและไม่ชอบของตัวเอง บ่อยครั้งที่คุณพ่อคุณแม่ให้ลูกทำสิ่งที่ไม่ชอบนานจนลูกต่อต้าน

สิ่งที่ควรทำ=เด็กวัย 2-3 ขวบ เป็นวัยแห่งการต่อต้าน การให้ข้อเสนอเพื่อเป็นข้อตกลงร่วมกัน ลดการโต้เถียงหรือ การชวนทะเลาะลงได้ เช่น ‘ถ้าลูกช่วยแม่เก็บเสื้อผ้า แม่จะเล่านิทานให้ฟัง’ หรือให้ทางเลือ กอื่นที่ไม่ใช่การลงโทษ เช่น ‘ถ้าไม่ทำแม่จะตี’ เป็น ‘ถ้าช่วยแม่ พ่อ กลับมาเราจะได้กินข้าวกันเร็วขึ้น’

5 สอนให้ลูกใช้ความคิดแก้ปัญหาด้วยตัวเอง

ประโยคคำสั่ง อย่ า! ไม่! ห้าม! ทำให้ลูกรู้สึกว่าตัวเองไม่ได้เรื่อง ทำอะไรก็ไม่ดี โดนห้ามตลอ ด ส่งผลต่อให้ลูกขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง กล า ยเป็นคนไม่มั่นใจ กลัวผิด และไม่กล้าที่จะคิดริเริ่มอะไรใหม่ๆ

สิ่งที่ควรทำ=ฝึกให้ลูกใช้ความคิดและแก้ปัญหาด้วยตัวเอง ยกตัวอย่ างเช่น ‘ไปเก็บของเล่นสิลูก’ เป็น ‘ไหนลูกลองคิดสิว่า จะเอาตุ๊กต าตัวนี้ไปเก็บไว้ไหน รถของเล่นนี้ล่ะเอาไปไว้ไหนดี’ นอ กจากนี้ควรหากิจก ร ร มสนุกๆ ทำร่วมกันกับลูก เมื่อคุณพ่อคุณแม่เห็นลูกทำไม่ถูกต้อง จะได้สอนลูกให้คิดแก้ปัญหา และสอ ดแทรกเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมเข้าไปได้ด้วย

6 ฟังสิ่งที่ลูกต้องการจะบอ ก

บางครั้งสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่คิดก็ไม่ได้ถูกต้องเสมอไป เพราะเด็กแต่ละคน มีความคิดเป็นของตัวเอง

สิ่งที่ควรทำ=ถามให้รู้ว่าลูกคิดอะไร ทำไปเพราะอะไร มีอะไรอยู่ในใจ และตั้งใจฟังสิ่งที่ลูกพูดเพื่อช่วยให้ลูกผ่ อ นคล า ยความกังวล และค่อยๆ เปลี่ยนความคิดของลูกให้ถูกต้อง

7 ไม่ใช้อารมณ์หรือเพิกเฉยความต้องการของลูก

เด็กวัย 2-3 ขวบ ยังไม่สามารถฟังและทำต ามคำสั่งหล า ยอย่ างในเวลาเดียวกันได้ จนทำให้พ่อแม่ใช้อารมณ์กับลูกหรือไม่สนใจลูกเลย

สิ่งที่ควรทำ=คอยจับสังเกตว่าลูกต้องการสื่อส า รอะไร อาจใช้วิธีถามซ้ำๆ เพื่อยืนยันในสิ่งที่ลูกทำ รวมถึงเมื่อต้องการให้ลูกทำอะไร พ่อแม่ควรพูดกับลูกให้ชัดเจน สั้น และกระชับใจความ

8 สอนด้วยการใช้เทคนิคที่เข้าใจง่าย

เด็กอาจจะยังฟังประโยคย าวๆ หรือหล า ยคำสั่งพร้อมกันไม่เข้าใจ

สิ่งที่ควรทำ=ใช้เทคนิคสอนให้ลูกจำง่ายขึ้น ยกตัวอย่ างเช่น ‘มีมือเอาไว้ช่วยเหลือ ไม่ใช่เพื่อเอาไว้ตี’ หรือ พูดให้ตื่นเต้นเร้าใจ เช่น ‘วันนี้ทำอะไรที่โรงเรียนบ้ าง’ เปลี่ยนเป็น ‘เล่าให้ฟังหน่อยวันนี้ทำอะไรสนุกสุด’ และหลีกเลี่ยงคำว่า ‘ไม่’ หรือ ‘ห้าม’ เพราะทำให้ลูกไม่อย ากทำต าม เช่น ‘ห้ามดื้อ’ เปลี่ยนเป็น ‘แม่ชอบลูก ตอนที่เชื่อฟังแม่ที่สุดเลย’ นอ กจากนี้คุณพ่อคุณแม่อาจเปลี่ยน มาใช้การให้คะแนนหรือสติ๊กเกอร์ เพื่อให้ลูกมีเป้าหมายในการเชื่อฟังคุณมากขึ้น

ที่มา a b o u t m o m, f a h h s a i