จงจำไว้ อย่ าได้ไปเซ็นค้ำประกันให้กับใคร

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดการเซ็นค้ำประกันให้กับคนอื่น กับบทความ จงจำไว้ อย่ าได้ไปเซ็นค้ำประกันให้กับใคร ไปดูกันว่าจะต้องทำอย่ างไรบ้าง

จำไว้ให้ขึ้นใจ ห้ามค้ำประกันห นี้ให้ใครเด็ดข า ด ถ้าไม่ใช่บุคคลเหล่านี้ หัวอ กของผู้ค้ำประกันทุกวันนี้ เ จ็ บป ว ดและเ จ็ บช้ำยิ่งนัก เมื่อลูกห นี้ไม่ยอมชำระห นี้ ‘ ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย’ เจ้าห นี้ก็จะฟ้องผู้ค้ำประกัน เข้ามาในคดีด้วย และสุดท้ายผู้ค้ำประกัน ก็ต้องร่วมรับผิด ในห นี้ที่ตนไม่ได้เป็นผู้ก่อขึ้น คนต้องการผ่อนบ้าน

คนต้องการผ่อนรถ คนต้องการกู้ยืมเงิ น คนที่ต้องการทำงาน คนเหล่านี้ล่ะครับ จำเป็นต้องใช้คนค้ำประกัน และเมื่อเขามา ให้เราช่วยค้ำประกัน ให้เราจะทำอย่ างไรดี? ต้องท่องจำไว้ให้แม่นเลยครับ ว่า’ เราจะไม่ค้ำประกันให้ใครเป็นอันข า ด’ ยกเว้นพ่อ-แม่ของเรา ลูกของเรา สามีหรือภรรย า ต ามกฎหมายของเราเท่านั้น ส่วนญาติพี่น้อง เพื่อนสนิท

เพื่อนทั่วไป ต้องปฏิเสธอย่ างหนักแน่น ไม่ว่าเราจะถูกตื้อ หรือขอร้องเพียงใดก็ต าม ทำไมต้องใจแข็ง? เพราะอะไรน่ะหรือครับ ‘ เพราะเมื่อผู้กู้ ไม่จ่ายผู้ค้ำประกัน ก็ต้องจ่าย’ เจ้าห นี้ต้องฟ้องผู้ค้ำประกัน อย่ างแน่นอน และโดยมากเมื่อมีการบังคับคดี มักจะเป็นผู้ค้ำประกัน ที่มีท รั พ ย์สินให้ยึดหรือมีเ งินเดือนให้ อายัดกันอยู่เสมอ มีเรื่องจริงเรื่องหนึ่ง

เล่าให้ฟังเป็นอุทาหรณ์.. ลุงคนหนึ่งไปค้ำประกันรถไถยี่ห้อ ดัง ให้ญาติ ซึ่งญาติคนนี้เป็นญาติสนิท บ้านติดกัน ปรากฏว่าญาติไม่จ่าย บริษัทรถไถก็ฟ้อง ฟ้องทั้งลูกห นี้และผู้ค้ำประกัน ทั้งสองคนเจ้าห นี้บังคับคดี โดยอายัดสิทธิเรียกร้องของผู้ค้ำ ประกันคนหนึ่ง ซึ่งก็คือลุงคนนี้ล่ะ ส่วนญาติซึ่งเป็นลูกห นี้ ไม่มีท รั พ ย์สินอะไร หนำซ้ำยังเดินลอยหน้าลอยต าให้เห็น ไม่รู้สึกทุ ก ข์ร้อนอะไร \ อย่ างใดทั้งสิ้น จนลุงทุ ก ข์ใจแทบอย ากจะห า ย ไปจากโลกนี้ ครอบครัวลูกหลาน ก็พาทุ ก ข์ใจไปด้วย เดือ ดร้อนกันไปหมด เวลาเจ้าห นี้ฟ้องบังคับ ชำระห นี้กับลูกห นี้ เจ้าห นี้จะฟ้องลูกห นี้ เป็นจำเลยที่ 1 และฟ้องผู้ค้ำประกัน เป็นจำเลยที่ 2 เสมอ เมื่อลูกห นี้และผู้ค้ำประกัน มาศาล และมีการตกลงประนีประนอม

ยอมความกัน ลูกห นี้ตกลงผ่อนชำระให้กับเจ้าห นี้ แต่เมื่อลูกห นี้ผิดนัด ไม่ผ่อนชำระห นี้ เจ้าห นี้จะดำเนินการสืบท รั พ ย์ จำเลยทุกคน หากเจอของใคร ก็จะบังคับคดี เอากับคนนั้น ซึ่งโดยมากห วย มักจะ ออ กที่ผู้ค้ำประกัน เนื่องจากเจ้าห นี้ มักกำหนดคุณสมบัติ ของผู้ค้ำประกันเอา ไว้แล้ว ตอนทำสัญญา จึงไม่แปลกที่มักจะพบท รั พ ย์สิน

ของผู้ค้ำประกัน มากกว่าที่จะพบท รั พ ย์สินของลูกห นี้นี่แหละครับ เรื่องของการเป็นผู้ค้ำประกัน.. ซึ่งหากไม่จำเป็นจริงๆ ไม่ใช่คนในครอบครัวจริงๆ เช่น พ่อแม่แท้ๆของเรา ลูกของเรา สามีหรือภรรย า โดยชอบด้วยกฎหมายของเรา ต้องจำไว้ให้ขึ้นใจ เลยนะครับว่า ‘ ห้ามค้ำประกันห นี้ให้ใครโดยเด็ดข า ด’ โดยเฉพาะญาติพี่น้อง เพื่อนแฟนที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส รวมไปถึงพี่น้องแท้ๆ บางคนก็ต้องระวังให้มาก เช่นกัน จะได้ไม่ต้องมานั่งช้ำใจ กลุ้มใจ ผู้เขียนเองก็ยึดหลักนี้มา

โดยตลอ ดเช่นกัน ให้ช่วยอะไรช่วยได้หมด ทุกเรื่องมีข้อยกเว้นอยู่เพียงสองเรื่องเท่านั้น คือให้เป็นผู้ค้ำประกันและให้ยืมเงิ น เพราะเคยเจอประสบการณ์ เล วร้า ยมาเช่นกัน ก่อนให้เราค้ำประกันก่อน จะยืมเงิ น เราจะพูดทุกอย่ างสารพัด จนดูดีไปหมด น่าเห็นใจน่าสงสารอย่ างที่สุด แต่เมื่อมีปัญหาแล้ว เปลี่ยนเป็นคนละคน เขาถึงว่า’ ไม่โดนกับตัวเอง ไม่มีวันเข้าใจ’ ดังนั้นไม่ค้ำประกันให้ใครเลย ดูจะเป็นทางออ กที่ดีที่สุด.. ว่าไหมครับ?

ที่มา โค้ชวันพุธกฤตวัฏ, yakrookaset