เงินซื้ อโรงเรียนที่ดีให้ลูกได้ แต่ซื้ อส ม อ งที่ดีให้ลูกไม้ได้

วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้ข้อคิดของการซื้ อโรงเรียนที่ดีให้กับลูกๆ กับบทความ เงินซื้ อโรงเรียนที่ดีให้ลูกได้ แต่ซื้ อส ม อ งที่ดีให้ลูกไม้ได้ ไปดูกันว่าทำไมเงินถึงไม่สามารถซื้ อสม อง ที่ดีให้กับลูกของเราได้

เข้าใจว่า…ทุกวันนี้การศึกษา คือ ‘อนาคต’ ความหวังที่จะช่วยพลิกโอกาสให้ ลูกคุณมีอนาคตที่ดีหล า ยๆ ครอบครัวจึงทุ่มเท ทุ กสิ่งที่มีทั้ง เงิ น และ เวลา แลกกับการให้ลูกได้เรียนโรงเรียนดีๆ มีร า ค า สูงคอสติวสอนพิเศษต่าง ๆ มากมาย จนลืมไปว่า…ควรพัฒนาทักษะด้านอื่น ควบคู่กันไปด้วย

ตอนที่ลูกอายุได้ 2 ขวบ เราส่ งลูกเข้า ‘เนอสเซอรี่’ หมดค่าใช้จ่ายไปปีละ 8 หมื่น เพียงแค่คิดว่า กลัวจะพัฒนาไม่ทันเพื่อน เรียนไม่ทันเพื่อน กล า ยเป็นส่ งลูกไป ติ ด ห วั ด ที่โรงเรียน เพราะวัยนี้ภูมิต้านทานยังไม่แข็งแรงพอ ไหนจะเสี่ ย งที่จะต้องเจอ กับ พี่เลี้ยงที่ไม่ดี สอนแบบผิ ดๆ อีก กล า ยเป็นพฤติกร ร ม ตัวอย่ าง ที่ซึมซับมาโดยไม่รู้ตัว

เมื่อ…อนุบาล ยันประถม เราจัดเต็ม ทั้งใน นอ กหลักสูตร ต้องกวดวิช าเพื่อเตรียมสอบเข้า ป 1 และ เสริมด้วย คณิตศาสตร์ว่ายน้ำ ไวโอลิน อังกฤษ จีน ฯลฯ กลัวลูกจะไม่เก่ง กลัวจะน้อยหน้าข้างบ้าน หารู้ไม่ว่า’จิตนาการ’ ต่างหาก คือสิ่งที่สำคัญที่สุด ที่จะนำพาให้ลูกคุณเติบโตขึ้น ไปเป็นผู้ใหญ่ ที่ประสบความสำเร็จ ได้ในอนาคต แต่คุณกำลังบังคับให้ เรียนโน้น ทำนี่ ฝึกนั่น เป็นการปิ ด กั้ น พัฒนาการในด้านการ ‘จินตนาการ’ และการฝึกคิดไปโดยอั ตโนมัติ เรากลัวว่า ลูกจะไม่เก่ง แต่ไม่เคยถามความรู้สึกของลูกจริงๆ ว่าเขาฝันอย ากเป็นอะไร หรือ… เพียงแค่เพราะ เราแค่ยัดเยียดความฝัน ที่เราทำไม่สำเร็จ ความล้มเหลวที่เราทำให้พ่อแม่ผิ ด หวังไปไว้ที่ลูก ให้เป็นคนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อมาชดเชย ‘ปม’ ความล้ ม เห ล วในอ ดีตของเรา

พอถึง…มัธยมอมเปรี้ยว

คราวนี้หนักเลย เพื่อที่จะสอบได้คะแนนดีๆ เพื่อเข้ามหาลัยดีๆ ได้ เรียนพิเศษทุกเย็น หลังเลิกเรียน เสาร์ อาทิตย์ จัดเต็มวัน ปิดเทอมไม่มีพัก ส่ งลูกเรียนซัมเมอร์ยุโรป ออสเตรลีย บางทีลูกไม่อย ากไป แต่พ่อแม่นี่แหละ อย ากให้ไป บางบ้านหมดเงินปีละ 6 – 7 แสน เพียงเพื่อ ให้ลูกได้เรียนในสิ่งที่คิดว่าดี ( แต่ไม่รู้ดีจริงไหม ) ยังไม่ทันเข้ามหาลัยกดไปเป็น สิบล้าน…!! ถึงวัยทำงาน คือ ‘โลกแห่งความเป็นจริง’ พอลูกเรียนจบก็คาดหวังว่า…

ลูกฉันเลี้ยงมาอย่ า งพิเศษใส่ไข่ เพิ่มข้าวดังนั้นจะจ้างลูกฉัน มันต้องแพงกว่าสิ… นี่ส่ งเรียนไปสิบกว่าล้านเลยนะ ‘ปัญหา คือ คุณค่าของใบปริญญา… พ่อแม่ กับ นายจ้าง มองไม่เท่ากัน’ พ่อแม่ช าวไทย ตี ค่าใบปริญญาลูกรักสูงมาก เพราะเราอยู่ในกระบวนการจ่ายเงินจริง ด้วยร า ค า สูงอย่ างย ากลำบาก ย าวนาน 20 ปีนายจ้าง กลับตี ค่าไม่สูงเท่าพ่อแม่ กลับมีคำถามใหญ่ ๆ 3 คำถาม คือ

1 ลูกคุณทำอะไรเป็นบ้าง

2 ลูกคุณเคยทำอะไรสำเร็จมาบ้าง

3 ลูกคุณจะมาสร้างความสำเร็จอะไรให้ที่นี่

อ ย่ า ลืมว่ายุคนี้ คือ ยุคที่เปิดกว้าง…

‘คนอินเดีย ‘ พร้อมบิน มาทำงานที่ กทม เขียนโปรแกรมเก่ง ยังกับคลอ ดออ กมาจากคอมพิวเตอร์

แถมขยันขันแข็ง ยังกับหุ่น ย นต์

‘คนฟิลิปปินส์ อินโด มาเลย์ ‘ พร้อมจะบิน มาทำงานที่กรุงเทพ พวกเขาเก่งภาษาอังกฤษ ลอจิกดี คุมงาน

เป็นหัวหน้าโปรเจคต์ พรีเซนต์ดี ไม่แพ้ฝรั่ง

‘คนจีน ‘ ไม่ต้องพูดถึง ความขยันอ่ าน ขยันข ายของ ขยันพบลูกค้า ใจสู้มาก ไม่ยอมแพ้ง่ายๆ

โดนด่ า ไม่ยุบ พวกนี้ คือ ยอ ดเซลล์แมน

แต่ กับคนไทย ปริญญามหาลัยมันเริ่มจะเบลอ ๆ ไม่ศักดิ์สิทธิ์ เหมือนรุ่นพ่อแม่ แน่นอนว่า

ย่อมมี บางคนได้ไปต่อเจริญรุ่งเรืองโกอินเตอร์ แต่ก็มีจำนวน มากที่แป้ก ตั้งแต่อายุยังน้อย

‘ความเห็นส่วนตัวผม’

ถ้าพ่อแม่ช าวไทย ( ส่วนหนึ่ง ) ที่ลงทุนกับการศึกษาลูกด้วยเงินจำนวน มากๆ ลองปรับแนวคิดสักเล็กน้อย ลองประหยัดเงินบางส่วน แล้วนำเงินก้อนเดียวนี้ เริ่มทำธุรกิจให้ลูก ในช่วงปิดเทอมให้ลูกได้ใช้ความพย าย าม ลองผิ ด ลองถูก ริเริ่มสร้างสรร เป็นผู้ประกอบการ ในยุคสมัยที่ อาชีพการงานไม่เป็นใจในอนาคตอีก 10-15 ปีข้างหน้า

ลองเผื่อ เวลาจากการศึกษาที่จัดเต็ม ( เกินไป ) ให้เขา ได้ลองริเริ่ม เรียนรู้ ลองเขียนหนังสือ ลองเขียนโปรแกรมสร้างแอพ ลองdesign รับงานแปล ลองขา ยของ ลองลงทุน ฯลฯ จนท้ายที่สุด ได้ลองหาเงินด้วยตัวเองให้ได้ ก่อนที่ จะเข้าเรียน มหาลัย ถ้าเขาสามารถส่ งตัวเองเรียนได้ หรือ มีรายได้มาแบ่งเบาภาระเรื่องค่าศึกษาได้บ้าง

อันนี้จะช่วยพัฒนาเขาได้ ไม่แพ้การศึกษาในระบบที่แสนแพง ( พ่อแม่ได้ภูมิใจ ) ลูกได้ฝึก ภู มิ ต้ า น ท า น และ ความแกร่ง เพราะ เงินเพียงอย่ า งเดียวไม่สามารถซื้ อ ส ม อ งให้ลูกคุณได้ ซึ่งหมายถึง ส ม อ ง จริงๆ ไม่ใช่คะแนนสอบที่สูงลิ่ว แต่คิดอะไรเองไม่ได้ เริ่มต้น ทำอะไรเองไม่เป็น อันนั้นไม่ได้เรียกว่า ฉลาด แต่เรียกว่าท่องจำเก่ง แล้วนำไปทำข้อสอบได้ มันคงจะดีกว่านี้ สำหรับลูกคุณถ้า ทั้งเก่ง ในข้อสอบและเก่งในทักษะชีวิตจริง

ที่มา 108resources