วันนี้เราอย ากที่จะพาเพื่อนๆ ไปเรียนรู้วิธีการรับมือ กับลูกดื้อ ต่อต้าน ไม่ยอมเชื่อฟัง กับบทความ 5 สิ่งที่ทำให้ลูกดื้อ ไม่ยอ มเชื่อฟัง ไปดูกันว่าจะต้องรับมือ กับอารมณ์ของลูกอย่ างไร เพื่อให้ลูกของเราเติบโตเป็นคนที่ดีและเก่งของสัมค
ข้อแรก เด็กไม่ได้รับความสนใจเมื่อทำตัวดี
อย่ างที่บอ กไปข้างต้น ว่าโดยทั่วไปเด็กต้องการความรัก ความใส่ใจ คำพูดดีๆ จากจากพ่อแม่ แต่หากเด็กทำตัวดี เชื่อฟัง ว่านอนสอนง่ายมาเรื่อยๆ แล้วพ่อแม่กลับทำเฉย ไม่สนใจ เหมือน มองไม่เห็นการทำดีนั้น พอมาวันหนึ่ง ด้วยเหตุอะไรก็ต าม เด็กบังเอิญได้ทำตัวไม่ดี ดื้อ ไม่เชื่อฟัง อ า ละ ว าด โวยวายขึ้น มาสักครั้งสองครั้ง พ่อแม่รีบเข้ามาสนใจ ให้ความสำคัญ เห็นเป็นเรื่องใหญ่ และบางทียังได้ของที่อย ากได้ ( ที่เวลาพูดขอ ดีๆ กลับไม่ได้ ) เพื่อเป็นการตัดรำคาญหรือติดสินบนให้หยุดดื้อ หยุดโวยวาย อ า ล ะว าด เอาแต่ใจ หากเป็นแบบนี้ เด็กจะเรียนรู้ที่จะทำตัวไม่ดีเวลาอย ากได้ความสนใจหรือเวลาอย ากได้อะไรจากผู้ใหญ่
วิธีแก้ พ่อแม่ให้ ‘ความสนใจทางบวก’ เวลาลูกทำตัวดี
ให้เป็นคำชม ยิ้มให้ลูก พยักหน้าแสดงความสนใจแสดงท่ารับรู้ ลูบศีรษะ กอ ด ฯลฯ ทำเช่นนี้บ่อยๆ ทุกครั้งที่ลูกทำตัวดีการให้ความสนใจทางบวกกับลูกอย่ างสม่ำเสมอ เป็นเสมือนการเติมพลั งใจ สร้างแรงจูงใจในการทำตัวดีให้กับลูก เป็นการแสดงออ กให้ลูกรู้ว่าคุณรับรู้คุณค่าในตัวเขา ตอบสนองความต้องการ ของลูกที่อย ากได้การยอมรับ ความรักความสนใจจากพ่อแม่และผู้ใหญ่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นความต้องการพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนต้องการ
ข้อสอง ลูกไม่ได้รับการสอนว่าพฤติกรร มที่ดีคืออะไร
บางบ้านไม่สอนอะไรว่าอะไรถูก อะไรผิด อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้ ไม่มีการกำหนดขอบเขตพฤติกรร มที่ควรและไม่ควรทำในครอบครัว
วิธีแก้ สั่งสอนลูก ชี้แนะให้รู้จักขอบเขตที่ชัดเจนของพฤติกรร มที่ทำได้และทำไม่ได้
ตัวอย่ างในการสอนลูก เวลาเห็นลูกทำตัวไม่เหมาะสม ในเรื่องใดก็ต าม ควรพูดเตือนทันที อย่ าปล่อยผ่านไป โดยให้พูดบอ ก ‘สั้นๆ ง่ายๆ’ ใช้น้ำเสียง สีหน้ากลาง ๆ ไม่ใช้อารมณ์ แต่ท่าทางเอาจริงลองฝึกพูดกับหน้ากระจกดูก่อนก็ได้ว่าหน้าต าท่าทางเราดูคุกคามลูกเกินไปมั๊ย หรือน้ำเสียงเราอ่อน ข า ดความเด็ดข า ดตัองบาลานซ์ให้พูดกับลูกสาววัย 4 ขวบ ที่กำลังแ ย่งของเล่นจากพี่ช ายวัย 6 ขวบ ว่า ‘หนูไม่แ ย่งของจากมือพี่ หนูขอพี่แล้วรอให้พี่ส่ งของให้ค่ะ’ เมื่อลูกเอาเท้ายกขึ้น มาบนโต๊ะตอนกินอาห าร ให้พูดกับลูกว่า ‘โต๊ะไว้วางอาห าร ลูกเอาเท้าวางบนพื้นค่ะ’
ข้อสาม ลูกเห็นพฤติกรร มไม่เหมาะสมจากพ่อแม่ และเกิดการเลียนแบบ
วิธีแก้ เตือนตัวเองว่าลูกจำและเรียนรู้จากเรา เราต้องเป็นต้นแบบของพฤติกรร มที่เหมาะสมให้กับลูก
ข้อสี่ ลูกโ ก ร ธ เศร้า หรือ กังวล
เวลาเด็กมีความรู้สึกลบๆ พวกเขามักจะระบายอารมณ์ออ กมาเป็นพฤติกรร มที่ไม่เหมาะสม เช่น ดื้อ ต่อต้ าน ก้าวร้ าว ทำร้ ายคนอื่น ทำล ายข้าวของ
วิธีแก้ ก่อนที่จะพูดตำหนิหรือไม่พอใจลูก ให้ลองพิจารณาว่าช่วงนี้ ลูกมีอารมณ์และการแสดงออ กด้านอื่นที่เปลี่ยนไปจากเดิมด้วยหรือไม่ เช่น เงียบลง ดูหงอยๆ แยกตัว ไม่ร่าเริง กินน้อย นอนย าก ร้องไห้ง่ายกว่าเดิม หงุดหงิดง่าย ขี้โมโหกว่าเดิม ถ้าพ่อแม่สังเกตเห็นอาการเหล่านี้ ให้ลองคุยกับลูกว่ามีเรื่องอะไรไม่สบายใจ ลองถามดูว่าที่โรงเรียนเป็นยังไง ทั้งเรื่องครู เรื่องเพื่อน เรื่องการเรียนถามไถ่ชีวิตลูก จะได้รู้สาเหตุที่ทำให้ลูกมีอารมณ์และการแสดงออ กที่ผิดไปจากเดิม อาจจะช่วยชี้แนะลูกถ้าช่วยได้
ข้อห้า พื้นอารมณ์ของลูก
เด็กบางคนเป็นเด็กที่มีพื้น อารมณ์อ่อนไหว หงุดหงิดง่าย ปรับตัวย าก มีความคิดและอารมณ์ค่อนไปทางลบ เด็กกลุ่มนี้มักจะแสดงท่าทีต่อต้ าน ไม่ร่วมมือ กับคนอื่นอยู่บ่อยๆ มีความคับข้องใจง่ายจะแสดงพฤติกรร มถดถอย ทำตัวไม่สมวัย
วิธีแก้ พ่อแม่ควรทำความเข้าใจ ในเรื่องพื้นอารมณ์ของเด็ก และตอบสนองลูกให้เหมาะกับพื้นอารมณ์ของเค้า จะช่วยลดความคับข้องใจของลูกลงไปได้ ช่วยให้ลูกปรับตัวกับสิ่งต่างๆ ได้ดีขึ้น
เมื่อคุณพ่อคุณแม่ทราบถึง 5 สาเหตุสำคัญที่ทำให้ลูก มีพฤติกรร มดื้อ ต่อต้ าน ไม่เชื่อฟังแล้ว ลองนำไปใช้สังเกตลูกดูว่าเป็นแบบนี้หรือไม่ หากพบว่าใช่ ควรรีบปรับพฤติกรร มตัวเอง เน้นที่ พ่อแม่ปรับพฤติกรร มของตัวเองที่กระทำต่อลูก จะพบว่าลูกร่วมมือ กับพ่อแม่มากขึ้น ต่อต้ านลดลง
ให้ค่อยๆ ปรับตัวเองและ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกเพิ่มขึ้นทุกวัน แต่หากลูกยังมีพฤติกรร มดื้อ ต่อต้ านเช่นเดิม แนะนำว่าควรปรึกษา กุม าร แพ ท ย์ หรือจิตแพ ท ย์ เด็กเพื่อประเมินสภาวะอารมณ์ จิตใจ ความคิด และการปรับตัวของลูก เพื่อได้รับการดูแลช่วยเหลือให้ตรงสาเหตุต่อไป
ที่มา n a v a v e j, y i n d e e y i n d e e